นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเคลื่อนไหวทางสังคม
Advertisements

นำเสนอในงานเปิดตัว Media Inside Out Group 14 กรกฎาคม 2555.
ประเภทและระดับ ของการสื่อสาร
เสียงตามสายเพื่อการศึกษา
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
นายแพทย์พูลสิทธิ์ ศีติสาร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
แนะนำคู่มือเพื่อการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับ อสม
วิธีการทางสุขศึกษา.
ดัชนีชี้วัดความ เข้มแข็งวิทยุชุมชน
Research Mapping.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
HA คืออะไร วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
บันทึกการประชุม ห้อง สื่อใหม่กับการรู้เท่าทันสื่อ การสัมมนาวิชาการเท่าทันสื่อ ครั้งที่ ๑ ไทย-ทัน-สื่อ มหกรรมการเรียนรู้เท่าทันสื่อแห่งชาติ ครั้งที่ ๑.
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
สวัสดีครับ.
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
มุ่งการมองล่วงหน้า - ดักปัญหา การลดการใช้ขยะของชุมชน การเยี่ยมบ้านเด็กของครู-อสม. การส่งเสริมและป้องกันโรค การวิจัยความต้องการประชาชน การรับฟัง-ตอบปัญหาประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
องค์การอนามัยโลกได้มีมติ สมัชชา WHA39.14 (1986) เรียกร้องประเทศสมาชิกให้ใช้กลยุทธ์ ควบคุมยาสูบอย่างสมบูรณ์เบ็ดเสร็จ โดยมี 9 องค์ประกอบ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
การระดมความ คิดเห็น ภาคประชาชน แรงงาน และ ผู้บริโภค.
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ผลการสังเกตการณ์กิจกรรมมูลนิธิเมาไม่ขับ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ภาพความสัมพันธ์การทำงานคุ้มครองผู้บริโภค ท่าข้าม
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
การเขียนเชิงกิจธุระ.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ฝ่ายปกครองกับการปกป้อง
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
ประธาน นายสุริน รักษาแก้ว เลขา คุณสุนันทา รอดสม ผู้นำเสนอ นายเบญพล ใหม่ชู
กิจกรรมของสถาบัน ภาษาอังกฤษ ร่วมกับ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา.
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ภายใต้ความร่วมมือ 3 องค์กรหลัก
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สังคม สับสน สื่อสาร นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ประชุม รสส. 28-05-2550 นพ.พงษ์พิสุทธิ์

ธรรมชาติการสื่อสาร การสื่อสารเป็นความสามารถพื้นฐานของมนุษย์ที่ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม/ชุมชน/สังคม เครื่องมือในการสื่อสารพื้นฐาน การพูด การเขียน การใช้ท่าทางหรือสัญลักษณ์อื่น ตัวอักษร (หนังสือ) รูปภาพ หรือสัญลักษณ์แบบอื่นๆ ช่องทางการสื่อสาร บุคคล ต่อ บุคคล บุคคล ต่อ กลุ่มบุคคล (ผ่านการประชุม และสื่อต่างๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ สื่ออิเลคทรอนิกส์ ฯลฯ) ประชุม รสส. 28-05-2550 นพ.พงษ์พิสุทธิ์

2 รูปแบบการสื่อสาร 2 ข้อจำกัด/ปัญหา ประชุม รสส. 28-05-2550 นพ.พงษ์พิสุทธิ์

ที่มาความล้มเหลวการสื่อสาร ไม่ได้รับข้อมูลข่าวสารหรือได้รับเพียงคนบางกลุ่มหรือได้รับเนื้อหาเพียงบางส่วน/ไม่เข้าใจ/เข้าใจผิด ปัญหาทางด้านเทคนิคการสื่อสาร พูดไม่เก่ง เขียนไม่เป็น (ผู้รับสารไม่รู้เรื่อง เนื้อหาและรูปแบบไม่น่าสนใจ ไม่ถูกกับกาลเทศะ) ไม่รู้ (ไม่มีข้อมูล) ไม่เข้าใจ (มีข้อมูลแต่ไม่เข้าใจหรือตีความไม่ตรงกับข้อเท็จจริง) ประเด็นเนื้อหาทางด้านสุขภาพ ปัญหาความแตกต่างกระบวนความคิด ความแตกต่างของโลกในมุมมองของนักสาธารณสุขและประชาชนทั่วไป (biomedical view vs. holistic view) ประชุม รสส. 28-05-2550 นพ.พงษ์พิสุทธิ์

ที่มาความล้มเหลวการสื่อสาร ปัญหาขาดช่องทางและกลไกการสื่อสาร ช่องทางและกลไกสื่อสารหลัก (ที่สามารถเข้าถึงประชาชนส่วนใหญ่) ถูกยึดพื้นที่โดยภาคธุรกิจ ซึ่งมุ่งเน้นกระตุ้นอุปสงค์ของประชาชนในการบริโภคสินค้าที่ ช่องทางใหม่ที่มีศักยภาพ เช่น หอกระจายข่าวประจำหมู่บ้าน วิทยุชุมชน องค์กรชุมชนและเครือข่าย อาสาสมัครต่างๆ ประชุม รสส. 28-05-2550 นพ.พงษ์พิสุทธิ์

แก้ไขปัญหาให้ตรงจุด แก้ไขปัญหากระบวนความคิด vs. ปัญหาทักษะเทคนิคการสื่อสาร (ประเด็นเน้นหนัก) การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน การฝึกอบรม เป้าหมายการเรียนการสอน การฝึกอบรม: การพัฒนาทักษะ เทคนิคการสื่อสารหรือมุ่งเน้นการสร้างความเข้าใจความแตกต่างความคิด กลุ่มเป้าหมาย: บุคลากรสาธารณสุข vs. นักสื่อสารมวลชน vs. อาสาสมัคร vs. ประชาชนทั่วไป กระบวนการ: การสอน การฝึกอบรม (conventional approach) vs. การจัดกระบวนการเรียนรู้ผ่านการขับเคลื่อนทางสังคม ประชุม รสส. 28-05-2550 นพ.พงษ์พิสุทธิ์

แก้ไขปัญหาให้ตรงจุด การแย่งพื้นที่ช่องทางการสื่อสารในระบบ การปกป้องสื่อที่ยังไม่ถูกครอบงำโดยภาคธุรกิจ (วิทยุชุมชน หอกระจายข่าวประจำหมู่บ้าน องค์กรชุมชนและเครือข่าย อาสาสมัครเพื่อชุมชนต่างๆ) การขยายแนวร่วมสื่อกระแสหลักผ่านช่องว่างของระบบที่มีอยู่ (นักสื่อสารมวลชนที่เห็นความสำคัญ ธุรกิจที่ไม่ได้หากำไรจากปัญหาสุขภาพของประชาชน) ความจำเป็นในการมี นสส. (นักสื่อสารสุขภาพ): การทำให้เป็นวิชาชีพ? การกำหนดเป้าหมายเพื่อการจัดทำเครือข่าย? การสร้างแรงจูงใจ (ความภาคภูมิใจ)? ประชุม รสส. 28-05-2550 นพ.พงษ์พิสุทธิ์

แก้ไขปัญหาให้ตรงจุด การปกป้องประชาชนจากการบริโภคข้อมูลทางด้านสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง การจัดตั้งเครือข่ายเฝ้าระวังข้อมูลสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง (ผ่านสื่อกระแสหลัก) และให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องแก่สาธารณะ ความเป็นไปได้ในการดำเนินคดีทางกฎหมายกับบุคคล/องค์กรที่พยายามให้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องแก่ประชาชน ประชุม รสส. 28-05-2550 นพ.พงษ์พิสุทธิ์