นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สังคม สับสน สื่อสาร นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ประชุม รสส. 28-05-2550 นพ.พงษ์พิสุทธิ์
ธรรมชาติการสื่อสาร การสื่อสารเป็นความสามารถพื้นฐานของมนุษย์ที่ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม/ชุมชน/สังคม เครื่องมือในการสื่อสารพื้นฐาน การพูด การเขียน การใช้ท่าทางหรือสัญลักษณ์อื่น ตัวอักษร (หนังสือ) รูปภาพ หรือสัญลักษณ์แบบอื่นๆ ช่องทางการสื่อสาร บุคคล ต่อ บุคคล บุคคล ต่อ กลุ่มบุคคล (ผ่านการประชุม และสื่อต่างๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ สื่ออิเลคทรอนิกส์ ฯลฯ) ประชุม รสส. 28-05-2550 นพ.พงษ์พิสุทธิ์
2 รูปแบบการสื่อสาร 2 ข้อจำกัด/ปัญหา ประชุม รสส. 28-05-2550 นพ.พงษ์พิสุทธิ์
ที่มาความล้มเหลวการสื่อสาร ไม่ได้รับข้อมูลข่าวสารหรือได้รับเพียงคนบางกลุ่มหรือได้รับเนื้อหาเพียงบางส่วน/ไม่เข้าใจ/เข้าใจผิด ปัญหาทางด้านเทคนิคการสื่อสาร พูดไม่เก่ง เขียนไม่เป็น (ผู้รับสารไม่รู้เรื่อง เนื้อหาและรูปแบบไม่น่าสนใจ ไม่ถูกกับกาลเทศะ) ไม่รู้ (ไม่มีข้อมูล) ไม่เข้าใจ (มีข้อมูลแต่ไม่เข้าใจหรือตีความไม่ตรงกับข้อเท็จจริง) ประเด็นเนื้อหาทางด้านสุขภาพ ปัญหาความแตกต่างกระบวนความคิด ความแตกต่างของโลกในมุมมองของนักสาธารณสุขและประชาชนทั่วไป (biomedical view vs. holistic view) ประชุม รสส. 28-05-2550 นพ.พงษ์พิสุทธิ์
ที่มาความล้มเหลวการสื่อสาร ปัญหาขาดช่องทางและกลไกการสื่อสาร ช่องทางและกลไกสื่อสารหลัก (ที่สามารถเข้าถึงประชาชนส่วนใหญ่) ถูกยึดพื้นที่โดยภาคธุรกิจ ซึ่งมุ่งเน้นกระตุ้นอุปสงค์ของประชาชนในการบริโภคสินค้าที่ ช่องทางใหม่ที่มีศักยภาพ เช่น หอกระจายข่าวประจำหมู่บ้าน วิทยุชุมชน องค์กรชุมชนและเครือข่าย อาสาสมัครต่างๆ ประชุม รสส. 28-05-2550 นพ.พงษ์พิสุทธิ์
แก้ไขปัญหาให้ตรงจุด แก้ไขปัญหากระบวนความคิด vs. ปัญหาทักษะเทคนิคการสื่อสาร (ประเด็นเน้นหนัก) การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน การฝึกอบรม เป้าหมายการเรียนการสอน การฝึกอบรม: การพัฒนาทักษะ เทคนิคการสื่อสารหรือมุ่งเน้นการสร้างความเข้าใจความแตกต่างความคิด กลุ่มเป้าหมาย: บุคลากรสาธารณสุข vs. นักสื่อสารมวลชน vs. อาสาสมัคร vs. ประชาชนทั่วไป กระบวนการ: การสอน การฝึกอบรม (conventional approach) vs. การจัดกระบวนการเรียนรู้ผ่านการขับเคลื่อนทางสังคม ประชุม รสส. 28-05-2550 นพ.พงษ์พิสุทธิ์
แก้ไขปัญหาให้ตรงจุด การแย่งพื้นที่ช่องทางการสื่อสารในระบบ การปกป้องสื่อที่ยังไม่ถูกครอบงำโดยภาคธุรกิจ (วิทยุชุมชน หอกระจายข่าวประจำหมู่บ้าน องค์กรชุมชนและเครือข่าย อาสาสมัครเพื่อชุมชนต่างๆ) การขยายแนวร่วมสื่อกระแสหลักผ่านช่องว่างของระบบที่มีอยู่ (นักสื่อสารมวลชนที่เห็นความสำคัญ ธุรกิจที่ไม่ได้หากำไรจากปัญหาสุขภาพของประชาชน) ความจำเป็นในการมี นสส. (นักสื่อสารสุขภาพ): การทำให้เป็นวิชาชีพ? การกำหนดเป้าหมายเพื่อการจัดทำเครือข่าย? การสร้างแรงจูงใจ (ความภาคภูมิใจ)? ประชุม รสส. 28-05-2550 นพ.พงษ์พิสุทธิ์
แก้ไขปัญหาให้ตรงจุด การปกป้องประชาชนจากการบริโภคข้อมูลทางด้านสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง การจัดตั้งเครือข่ายเฝ้าระวังข้อมูลสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง (ผ่านสื่อกระแสหลัก) และให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องแก่สาธารณะ ความเป็นไปได้ในการดำเนินคดีทางกฎหมายกับบุคคล/องค์กรที่พยายามให้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องแก่ประชาชน ประชุม รสส. 28-05-2550 นพ.พงษ์พิสุทธิ์