เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการการป้องกันเอชไอวีในกลุ่มประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
เอชไอวีควบคุมได้ เอดส์รักษาได้ เราอยู่ด้วยกันได้
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.แหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมวัยรุ่น จังหวัดเพชรบุรี
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
กลุ่มที่ 3 เรื่องงานด้านการดูแล รักษาผู้ป่วยและการส่งต่อผู้ป่วย.
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
สถานการณ์เอดส์ เด็ก 28 ราย ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์สะสม ทั้งจังหวัด
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการดำเนินงานที่ผ่าน มาของโรงพยาบาล ปัตตานี. แรงงานข้ามชาติ พนักงานบริการ ประชาชนทั่วไป ชายรักชาย กลุ่มเป้าหมาย.
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
ลาวัลย์ สาโรวาท มูลนิธิพีเอสไอ สมัชชากพอ. ชาติ ประจำปี มกราคม 2555.
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
โครงการพัฒนามาตรการป้องกัน เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สมาคมส่งเสริมพัฒนาการสังคม (SDA)
ปี 2549 จากประชากรทั้งสิ้น ล้านคน เป็นผู้มีงานทำ ล้านคน
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโพนทอง
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
บทเรียนที่งอกงามในการทำงาน ด้านเอชไอวี / เอดส์ ของพี่น้อง ภาคีกพอ. ภาคเหนือ 25 ปี เบญจเพศ มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ พันธกิจเอดส์แห่งประเทศ ไทย มูลนิธิเอดส์เน็ท.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ ปี พนักงาน บริการหญิง ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย รวมสาวประเภทสอง ผู้ต้องขัง ผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด และแรงงานข้ามชาติและปรับปรุงคุณภาพ ชีวิตของเด็กที่ติดเชื้อและได้รับผลกระทบจาก เอชไอวี / เอดส์ และเด็ก ที่อยู่ในภาวะเปราะบาง วัตถุปร ะสง ค์ 1. เพื่อส่งเสริม ความรู้ ทัศนคติ และทักษะเกี่ยวกับ การมีเพศสัมพันธ์ ที่ปลอดภัย รวมทั้งการพัฒนา งานด้านการ ให้บริการป้องกัน HIV/STIs ในกลุ่ม พนักงานบริการ หญิง 2. เพื่อเพิ่มการเข้าถึง บริการที่มี คุณภาพ อย่าง เท่าเทียมและ ทั่วถึงในด้านสุข ภาวะทางเพศและ บริการทางสังคม ผ่านภาคีเครือข่าย และองค์กรที่ เกี่ยวข้องกับการ ให้บริการอย่าง ครอบคลุมและ ต่อเนื่องในด้าน อนามัยทางเพศ และการป้องกัน เอชไอวี / เอดส์ 3. เพื่อให้เกิดนโยบาย ในด้านสุขภาพที่มี ความสอดคล้องและ เชื่อมโยงในระดับชาติ และระดับจังหวัด โดย การดำเนินงานผ่าน กลไกจังหวัดในการบูร ณาการระบบการ ป้องกันทางด้าน สาธารณสุข ชุมชน และสังคม ภายใต้ แผนงานการกระจาย อำนาจสู่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น

1. อ. พระนครศรีอยุ ธยา 2. อ. อุทัย 3. อ. วังน้อย 4. อ. บางปะอิน 5. อ. บางไทร 6. อ. ลาดบัว หลวง

จัดจ้างอาสาสมัครพนักงานบริการ หญิง 8 คน เพื่อทำหน้าที่ เบิกถุงยางอนามัย สารหล่อลื่น และสื่อ เอกสารความรู้ต่าง ๆ นำไปแจกจ่ายกับเพื่อนพนักงาน บริการ รวมทั้งแนะนำการใช้ถุงยางอนามัยอย่างถูกวิธี และแนะนำ พนักงานบริการเข้ามาใช้บริการในศูนย์ ฯ เข้าร่วมกิจกรรมในศูนย์ ฯและต่างสถานที่ตามที่ สมาคม ฯ เชิญชวน แนะนำการรักษาพยาบาลแก่ เพื่อนพนักงานบริการเบื้องต้นได้ ร่วมมือช่วยงานในศูนย์ ฯ ด้วยความเต็มใจและเต็มที่

เปิดบริการ Drop In Center ตั้งอยู่ที่ 51/52 หมู่ 1 ต. ธนู อ. อุทัย จ. พระนครศรีอยุธยา ตึกแถว 3 ชั้น ชั้นล่างทำ สำนักงาน และใช้เป็นสถานที่พักผ่อนของน้อง ๆ ร้องคาราโอเกะ เล่นอินเตอร์เน็ต ประชุมกลุ่มย่อย พูดคุย สนทนา ชั้นลอยเก็บ Stock ถุงยาง และสาร หล่อลื่น ชั้นสอง ใช้ทำห้องประชุมอบรมสัมมนา ปรึกษาหารือ ส่วนชั้นสามเป็นที่พักอาศัย เปิดให้บริการกลุ่มเป้าหมายด้านความรู้ ให้การปรึกษา แจกถุงยางอนามัย ทั้งใน และนอกศูนย์ Drop-in Center รวมทั้ง ส่งต่อไปรับบริการ VCCT และ STI เพื่อให้พนักงานบริการหญิงเข้าถึงความรู้ การให้ การปรึกษา บริการถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น ที่ Drop-in Center

การเข้าถึงพนักงานบริการรายใหม่ เป้าหมายโดยรวมของปี 3 รวม 600 คน ผลการดำเนินงาน 804 คน การตรวจ VCCT ด้วยความสมัครใจ เป้าหมายกิจกรรมตามตัวชี้วัดปี 3 รวม 360 คน ผลการ ดำเนินงาน 312 คน จำนวนถุงยางที่แจกฟรีแก่พนักงานบริการหญิง ผ่านกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เป้าหมายกิจกรรมตามตัวชี้วัด 72,000 ชิ้น ผลการ ดำเนินงาน 36,100 ชิ้น จำนวนถุงยางอนามัยที่แจกฟรีแก่พนักงาน บริการหญิง ผ่านกิจกรรมการรณรงค์ เป้าหมายกิจกรรมตามตัวชี้วัด 36,000 ชิ้น ผลการ ดำเนินงาน 17,261 ชิ้น จำนวนสารหล่อลื่นที่แจกฟรีแก่พนักงาน บริการหญิง เป้าหมายกิจกรรมตามตัวชี้วัด 36,000 ซอง ผลการ ดำเนินงาน 23,300 ซอง