แผนปฏิบัติตามกรอบอำนาจหน้าที่ของ คณะอนุกรรมาธิการความสัมพันธ์ เศรษฐกิจ การศึกษา มิตรภาพ ไทย-จีน-อาเซียน ตามประกาศกรรมาธิการต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร ที่ ๑/๒๕๕๕ ดร.จริน ศิริ คณะอนุกรรมาธิการความสัมพันธ์เศรษฐกิจ การศึกษา มิตรภาพ ไทย-จีน-อาเซียน ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร มกราคม ๒๕๕๕ เอกสารหมายเลข ๒
ความสัมพันธ์ไทย-จีน-อาเซียน MYANMAR THAILAND MALASIA SINGAPORE INDONESIA LAOS CAMBODIA VIETNAM PHILIPPINES BRUNEI DARUSSALAM CHAINA ความสัมพันธ์ไทย-จีน-อาเซียน
๖ ประเด็นสำคัญที่ต้องพิจารณาและคิดร่วมกัน ความสัมพันธ์ไทย-จีน-อาเซียน ๖ ประเด็นสำคัญที่ต้องพิจารณาและคิดร่วมกัน อำนาจหน้าที่ของอนุกรรมาธิการชุดนี้ กรอปงานภายใต้อำนาจหน้าที่ตามประกาศกรรมาธิการต่างประเทศ ฐานคิดในการทำงานภายใต้กรอบงานและอำนาจหน้าที่ ภารกิจที่ต้องปฏิบัติภายใต้กรอบและฐานคิดในการทำงาน โครงสร้างการทำงานของอนุกรรมาธิการชุดนี้ แผนการปฏิบัติงานทั้งระบบที่จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอคณะกรรมาธิการต่างประเทศสภาผู้แทนราษฎร เพื่อให้ดำเนินการขั้นต่อไป
ความสัมพันธ์ไทย-จีน-อาเซียน ๑.อำนาจและหน้าที่ มุ่งเน้นความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การศึกษา มิตรภาพ ระหว่างไทย-จีน-อาเซียน เพื่อนำสู่ความสำเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจร่วมกันระหว่าง ไทย-จีน-อาเซียน
ความสัมพันธ์ไทย-จีน-อาเซียน ๒.กรอบงาน ไทย กับ.. ใช้.. ความสัมพันธ์ มิตรภาพ พัฒนา... เศรษฐกิจ การศึกษา การค้าระหว่างประเทศ การค้าชายแดน การค้าชายฝั่ง การขนส่ง การผลิตสินค้า การเป็นตัวแทนทางการค้า การท่องเที่ยว ฯลฯ การดูงาน การฝึกอบรม การสัมมนา การจัดทำหลักสูตร การผลิตตำรา การแลกเปลี่ยนนักวิชาการระหว่างประเทศ ฯลฯ
ความสำเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจร่วมกันระหว่าง ไทย-จีน-อาเซียน ความสัมพันธ์ไทย-จีน-อาเซียน มิตรภาพ เศรษฐกิจพัฒนา การศึกษา ไทย จีน อาเซียน การค้าระหว่างประเทศ การค้าชายแดน การค้าชายฝั่ง การขนส่ง การผลิตสินค้า การเป็นตัวแทนทางการค้า การท่องเที่ยว ฯลฯ การดูงาน การฝึกอบรม การสัมมนา การจัดทำหลักสูตร การผลิตตำรา การแลกเปลี่ยนนักวิชาการระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์ ความสำเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจร่วมกันระหว่าง ไทย-จีน-อาเซียน
ความสัมพันธ์ไทย-จีน-อาเซียน ๓.ฐานคิดการทำงานภายใต้ กรอบอำนาจและหน้าที่ ๔ ฐานคิด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ต้องการให้กลุ่มประเทศอาเซียนแข็งแกร่ง ที่สร้างความสัมพันธ์ แสวงหาความร่วมมือ ๓ ด้าน หรือ ๓ เสาหลักร่วมกันคือว่าด้วยความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของอาเซียน ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ อย่างประเทศจีนแผ่นดินใหญ่ และจีนใต้หวัน ที่มีความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจและสังคมระหว่างไทยและกลุ่มอาเซียน ซึ่งมิได้ต่างจากกลุ่มประเทศอาเซียนแต่อย่างใด มิหนำซ้ำ ประเทศจีนยังเป็นพี่เบิ้มของเอเชียที่คอยถ่วงดุลกับกลุ่มหาอำนานอกอาเซียน มิให้เสียดุลในหลายๆด้านด้วยซ้ำ อำนาจรัฐ ที่ให้อำนาจคณะกรรมาธิการผ่านคณะกรรมาธิการต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร โดยมีรัฐบาลรองรับในการจัดทำโครงการและจัดกิจกรรม ศักยภาพและความสามารถของประธานอนุกรรมาธิการและที่ปรึกษาแต่ละท่านในคณะอนุกรรมาธิการชุดนี้ล้วนมีความพร้อมในทุกด้านที่จะผลักดันให้ทุกภารกิจไปสู่ความสำเร็จได้ไม่ยาก ๓.๑ ๓.๒ ๓.๓ ๓.๔
ความสัมพันธ์ไทย-จีน-อาเซียน ๔.ภารกิจที่ต้องปฏิบัติภายใต้กรอบงานและอำนาจหน้าที่ กรอบงานทางด้านเศรษฐกิจและการศึกษา ภารกิจทั้ง ๒ ด้านจะต้องไปด้วยกัน คือการให้ความรู้คู่การปฏิบัติ ที่ผ่านมาไม่เคยปรากฏหลักสูตรและสถาบันการ ศึกษา ที่ให้การศึกษาเชิงปฏิบัติในเรื่องของการค้า การพานิช การจัดการให้การศึกษาให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ ในทุกรูปแบบกับการค้าทุกประเภท การผลิต การส่งออก การนำเข้า การท่องเที่ยวและการเป็นผู้แทนทางการค้าที่คนไทยที่ทำการค้าต้องรู้ทันธุรกิจการค้าในระดับสากล
คณะกรรมาธิการต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร ความสัมพันธ์ไทย-จีน-อาเซียน ๕.โครงสร้างการทำงานของความสัมพันธ์ เศรษฐกิจ การศึกษา มิตรภาพ ไทย-จีน-อาเซียน คณะกรรมาธิการต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร
โครงสร้างและองค์ประกอบของอนุกรรมการ ๔ ฝ่าย ความสัมพันธ์ไทย-จีน-อาเซียน หลังจากได้รับการอนุมัติแผนงานจากกรรมาธิการต่างประเทศและรัฐบาล โครงสร้างและองค์ประกอบของอนุกรรมการ ๔ ฝ่าย
จัดทำเอกสารเป็นรูปเล่มเสนอคณะกรรมาธิการต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร ความสัมพันธ์ไทย-จีน-อาเซียน ๖.แผนปฏิบัติงานทั้งระบบ คณะอนุกรรมาธิการชุดนี้ต้องนำเสนอคณะกรรมาธิการต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร ดำเนินการขั้นต่อไป คือการรวบรวมเอกสารจากคณะทำงานอนุกรรมาธิการ ๔ ฝ่าย ซึ่งมีโครงการและภารกิจย่อยประกอบ ตามแผนภูมิโครงสร้างในข้อ ๕ ที่แต่ละฝ่ายส่งมาแล้วจัดพิมพ์เย็บเล่มส่งประธานกรรมาธิการ ดำเนินการต่อไป จัดทำเอกสารเป็นรูปเล่มเสนอคณะกรรมาธิการต่างประเทศ สภาผู้แทนราษฎร
การจัดการศึกษาแบบบูรณาการเพื่อการพัฒนาคนและพัฒนาเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ไทย-จีน-อาเซียน ตัวอย่างภารกิจที่สัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน-อาเซียน ภายใต้กรอบคิดในการทำงาน การจัดการศึกษาแบบบูรณาการเพื่อการพัฒนาคนและพัฒนาเศรษฐกิจ จีน อาเซียน ไทย พัฒนาคน พัฒนาเศรษฐกิจและการค้า การค้า การวิจัยทางการค้า กฎหมายที่เกี่ยวกับการค้า ภาษา สังคมวัฒนธรรม การเป็นผู้แทนทางการค้า การแลกเปลี่ยนบุคลากรทางการศึกษา ฯลฯ การค้าชายแดน การค้าชายฝั่ง การผลิตสินค้า สินค้ายกเลิกภาษี การขนส่ง การท่องเที่ยว ฯลฯ หลักสูตร การท่องเที่ยว การค้า การวิจัย กฎหมาย ภาษา สังคมวัฒนธรรม ฯลฯ สถานที่ท่องเที่ยว โรงแรมที่พัก สินค้าของฝาก ของที่ระลึก กฎหมายที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว ฯลฯ
(กลุ่มจังหวัดชายแดนและชายฝั่งของไทย) ความสัมพันธ์ไทย-จีน-อาเซียน ตัวอย่างภารกิจที่สัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน-อาเซียน ภายใต้กรอบคิดในการทำงาน (กลุ่มจังหวัดชายแดนและชายฝั่งของไทย)
ความสัมพันธ์ไทย-จีน-อาเซียน