สื่อคุณค่าพระวรสาร กราฟิกเบื้องต้น วิชาคอมพิวเตอร์ ม.1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Graphic Design Week 3 Computer Graphic
Advertisements

เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานกราฟิก
Graphi c Design.
โปรแกรมภาษาโลโก (logo)
ระบบจัดการคลังข้อสอบส่วนกลาง
บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
บทที่ 8 การใช้รูปภาพ และการออกแบบกราฟฟิกสำหรับเว็บ
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
พระวาจา ทรง ชีวิต พฤษภาคม 2014.
สื่อประกอบการเรียนรู้
General Purpose TV Interfacing Module
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
วิชาสื่อ ประสม ง แบบทดสอบกลางภาค
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
หน่วยการเรียนเรื่อง ป้ายนิเทศเพื่อการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21
ใบส่งพิมพ์โปสเตอร์ขนาดใหญ่
ใบส่งพิมพ์โปสเตอร์ขนาดใหญ่
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบ Graphic.
การสร้างงานกราฟิก.
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
เรื่อง คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
วิวัฒนาการประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิกส์
Computer Graphics Image Processing 1.
กิจกรรมที่ 2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
Principle of Graphic Design
เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
การใช้โปรแกรม Microsoft Word 2007
: Computer Graphics (คอมพิวเตอร์กราฟิกส์)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน ออกแบบบ้านในฝันน่าอยู่
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
Computer graphic.
CorelDRAW 12.
รายวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์
นางสาวพรรณาวดี ชาติทอง
กิจกรรมคอมพิวเตอร์ การใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS3.
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการโปรแกรมคอมพิวเตอร์
เสริมเว็บให้ดูสวย.

ซอฟต์แวร์ (Softwarre)
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
หน่วยรับเข้า ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก ปัจจุบันมีสื่อต่าง ๆ ให้เลือกใช้ได้มากมาย แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ 1.แป้นพิมพ์ (Keyboard) 2.เมาส์
จัดทำโดย.... นางสาววริศรา ทาวรรณ์ เลขที่ 35 ชั้น ม.4/13
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
ชนิดของซอฟต์แวร์ (2).
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
วิชาคอมพิวเตอร์ คุณครูภาราดร ฟุ้งเฟื้อง
ความรู้พื้นฐานโปรแกรม Adobe Photoshop
ประเภทของภาพในคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สื่อคุณค่าพระวรสาร กราฟิกเบื้องต้น วิชาคอมพิวเตอร์ ม.1

กราฟิก (Graphic) กราฟฟิก หมายถึง การสื่อความหมายด้วยการใช้ศิลปะ และศาสตร์ทางการใช้เส้น ภาพวาด ภาพเขียน แผนภาพ ตลอดจนสัญลักษณ์ทั้งสีขาว - ดำ ซึ่งมีลักษณะเห็นได้ชัดเจน เข้าใจความหมายได้ทันที  ตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการ

กราฟิกส์มาจากภาษากรีก Graphikos หมายถึง การวาดเขียนและการเขียนภาพ Graphein หมายถึง การเขียน

คอมพิวเตอร์กราฟิก คอมพิวเตอร์กราฟฟิก คือ การสร้างและการจัดการกับ ภาพกราฟิกโดยใช้คอมพิวเตอร์ซึ่งในปัจจุบันมีการใช้ ภาพกราฟิกกับงานสื่อสิ่งพิมพ์ ในหลายๆประการและสิ่งสําคัญที่ จะทําให้   การประยุกต์ใช้งานคอมพิวเตอร์กราฟฟิกเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพคือจะต้องมีความเข้าใจกับ ชนิดของภาพในงาน คอมพิวเตอร์กราฟฟิกและรูปแบบของไฟล์กราฟิกที่ใช้กับงาน ออกแบบสิ่งพิมพ์

กราฟิก การศึกษา ประชาสัมพันธ์ งานโทรทัศน์ ฯลฯ สื่อสิ่งพิมพ์ งานออกแบบ

ภาพ 2 มิติ(2D Graphic) กราฟิกแบบ 2 มิติ เป็นภาพที่พบเห็นโดยทั่วไป เช่น ภาพถ่าย รูปวาด ภาพลายเส้น สัญลักษณ์ กราฟ รวมถึงการ์ตูนต่างๆ ในโทรทัศน์

ประเภทของภาพกราฟฟิก ภาพกราฟฟิก Bit Mapped Vector

กราฟิกแบบ Bitmap       Bitmap ในทางเทคนิคเรียกว่า “Raster Image” เป็นการแสดงผลภาพทางกราฟิกในรูปแบบที่ประกอบขึ้นจากกรอบสี่เหลี่ยมจุดเล็กๆ มีลักษณะเป็นตะแกรงเรียงประกอบขึ้นเป็นภาพ ลักษณะคล้ายๆ กับการปูกระเบื้อง เรียกว่า พิกเซล (Pixels) ที่มีจำนวนคงที่ตายตัวตามการสร้างภาพที่มี Resolution (ตัวกำหนดค่าความละเอียดของจำนวนpixels) แต่ละพิกเซลก็จะมีค่าของตำแหน่งและค่าสีของตัวเอง ด้วยเหตุที่พิกเซลมีขนาดเล็กเราจึงเห็นว่าภาพ มีความละเอียดสวยงาม                

ข้อดี ภาพแบบ Bitmap จึงเหมาะสำหรับงานกราฟิกในแบบที่ต้องการให้แสงเงาในรายละเอียด เป็นไฟล์ที่เหมาะกับการทำงานกับภาพเหมือนจริงประเภทภาพถ่าย เพราะ Bitmap มี Channel พิเศษ เรียกว่า Alpha Channel ซึ่งเป็น 32 bit หรือ true color คือสีสมจริง เช่น ภาพที่นำมาใช้กับ PhotoShop จะเป็นภาพเหมือน ภาพถ่าย เพราะไฟล์ที่ได้จาก PhotoShop เป็น Bitmap ไฟล์ภาพแบบ Bitmap ในระบบวินโดวส์คือ ไฟล์ที่มีนามสกุล .BMP, .PCX , .TIF, .GIF , .JPG, .MSP, .PCD เป็นต้น สำหรับโปรแกรมที่ใช้สร้างกราฟิกแบบนี้คือ โปรแกรม Paint ต่างๆ เช่น Paintbrush, PhotoShop, Photo scape เป็นต้น

Bitmap

ข้อด้อย   เนื่องจาก Bitmap มีค่า Pixel จำนวนคงที่จึงทำให้มีข้อจำกัดในเรื่อง การขยายขนาดภาพ การเปลี่ยนขนาดภาพทำโดยเพิ่มหรือลด Pixel จากที่มีอยู่เดิม เมื่อขยายภาพให้ใหญ่ขึ้น ความละเอียดของภาพจึงลดลง และถ้าเพิ่มค่าความละเอียดมากขึ้นก็จะทำให้ไฟล์มีขนาดใหญ่และเปลืองเนื้อที่หน่วยความจำ จะมองเห็นเป็นตารางสี่เหลี่ยมเรียงต่อกัน ทำให้ขาดความสวยงาม

การขยายขนาดของภาพ bitmap เกินขนาดจริงหรือทำการลดจำนวน pixel ก็ทำให้ รายละเอียดของภาพลดลงได้

กราฟิกแบบ Vector คือ รูปแบบภาพกราฟิกที่ประกอบด้วย เส้นสาย ลวดลายต่าง ๆ ที่ถูกสร้างขึ้นจากสมการทางคณิตศาสตร์ในการคำนวณ จุดตัดและต่อกันของแกน x/y/z ผ่านโปรแกรมทางกราฟิก ทำให้สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ง่าย เช่น การย้ายภาพจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง โดยโปรแกรมจะคำนวณจุดตำแหน่งใหม่และแสดงผลให้โดยอัตโนมัติ ไฟล์ภาพแบบนี้จะเหมือนการ์ตูนหรือภาพเขียน ประเภทผลงานกราฟิกที่นิยมใช้โปรแกรมที่สร้างภาพแบบ vector ในการสร้างได้แก่ การออกแบตัวอักษร งานออกแบบโลโก้ โปสเตอร์ขนาดใหญ่

ข้อดี ลักษณะเด่นของ Vector คือ สามารถยืดหรือหดภาพเท่าใดก็ได้ โดยที่ภาพจะไม่แตก ความละเอียดของภาพไม่เปลี่ยนแปลง คงคุณภาพของภาพไว้ได้เหมือนเดิม และยังสามารถขยายเฉพาะความกว้างหรือความสูง เพื่อให้มองเห็นเป็นภาพผอมหรืออ้วนกว่าภาพเดิมได้ด้วย และไฟล์มีขนาดเล็กกว่าภาพ Bitmap ภาพแบบ Vector จึงเหมาะสำหรับงานแบบวาง Layout งานพิมพ์ตัวอักษร Line Art หรือ Illustration    

ไฟล์รูปภาพแบบ Vector ไฟล์ที่มีนามสกุล .WMF .EPD .CDR .AI .CGM .DRW .PLT เป็นต้น โดยมีโปรแกรมประเภทวาดรูป (Drawing Program) เช่น CorelDraw หรือ AutoCAD เป็นโปรแกรมสร้าง ขณะที่บนแมคอินทอชใช้ Illustrator และ Freehand

ข้อด้อย 1. การแสดงผลของภาพอาจไม่ละเอียดไม่เป็นธรรมชาติเท่า bitmap 2. คอมพิวเตอร์จะใช้เวลาในการแสดงภาพมากกว่า เนื่องจากต้องทำตามคำสั่งที่มีจำนวนมากกว่า

Vector

1. ลักษณะภาพประกอบขึ้นด้วยจุดต่างๆ มากมาย Bitmap Vector 1. ลักษณะภาพประกอบขึ้นด้วยจุดต่างๆ มากมาย 1. ใช้สมการทางคณิตศาสตร์เป็นตัวสร้างภาพ โดยรวมเอา Object (เช่น วงกลม เส้นตรง) ต่างชนิดมาผสมกัน 2. ภาพมีจำนวนพิกเซลคงที่จึงต้องการค่าความละเอียดมากขึ้นเมื่อขยายภาพ โดยจะคำนวณค่าสีทีละ pixels ทำให้ภาพแตกเมื่อขยายภาพให้ใหญ่ 2. สามารถย่อและขยายขนาดได้มากกว่า โดยสัดส่วนและลักษณะของภาพยังเหมือนเดิม ความละเอียดของภาพไม่เปลี่ยนแปลง 3. เหมาะสำหรับงานกราฟิก ในแบบต้องการให้แสงเงาในรายละเอียด 3. เหมาะสำหรับงานแบบวาง Layout งานพิมพ์ตัวอักษร Line Art หรือ Illustration 4. แสดงภาพบนจอทันที เมื่อรับคำสั่งย้ายข้อมูลจากหน่วยความจำที่เก็บภาพไปยังหน่วยความจำของจอภาพ 4. คอมพิวเตอร์จะใช้เวลาในการแสดงภาพมากกว่า เนื่องจากต้องทำตามคำสั่งที่มีจำนวนมากกว่า

นักเรียนเห็นหรือไม่ว่าภาพทั้ง 2 แบบมีความแตกต่างกันแต่ก็ สามารถออกแบบผลงานได้และทำงานGraphicได้เหมือน Vector

เหมือนนักเรียนในตอนนี้ที่มีทั้งชายและหญิงที่อยู่ร่วมกันบนโลก และมีความสามารถในการทำงานเหมือนกัน นักเรียนคิดว่าในสังคมนี้มีอาชีพอะไรบ้างที่ต่างกัน แต่ทำงานเหมือนหรือ คล้ายกันให้นักเรียนจับกลุ่มละ5คน และมาอธิบายหน้าห้อง

สิ่งที่นักเรียนอธิบายมาทั้งหมดคือ ความเป็นหนึ่ง / ความเป็นชุมชน คือ มนุษย์ทุกคนเป็นพี่น้องกัน ทุกคนมีพระเจ้าองค์เดียวกัน ดังนั้น มนุษย์จึงต้องสร้างสังคมมนุษย์ให้น่าอยู่ไม่ว่าเราจะอยู่ในหน่วยใดของ สังคมเราต้องแสดงความเป็นเจ้าของการมีส่วนร่วมในชีวิตของ ชุมชนนั้นๆ

ใบงาน Graphic จุดประสงค์ ใช้แสดงลักษณะความเหมือนหรือแตกต่าง ระหว่างสิ่งของ2 สิ่ง หรือมากกว่า วิธีการใช้ เขียนหัวข้อที่จะเปรียบเทียบด้านบนของวงกลมทั้ง 2 ข้าง เขียนคุณสมบัติที่แตกต่างกันในวงกลมแต่ละด้านที่ตงกับหัวข้อ เขียนคุณสมบัติที่เหมือนกันในส่วนของวงกลมที่ทับซ้อนกัน คำชี้แจง ให้นักเรียนสำรวจดูตัวอย่างงานนำเสนอและคุณสมบัติของงานนำเสนอ ที่ดีว่าควรมีลักษณะอย่างไร จากนั้นเปรียบเทียบความแตกต่างของงานนำเสนอที่ดี ว่าแตกต่างจากงานนำเสนอทั่วไปอย่างไร

ใช้แสดงลักษณะความเหมือนหรือแตกต่าง ระหว่างสิ่งของ2 สิ่ง หรือมากกว่า