โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์ สพป.มุกดาหาร
สภาพปัญหาการนิเทศติดตามผล สถานศึกษาไม่ได้รับการนิเทศตามเกณฑ์ คุณภาพการศึกษายังไม่เป็นที่พอใจ ขาดการนิเทศอย่างต่อเนื่อง ไม่ทั่วถึง ไม่เป็นระบบ
เงื่อนไขการดำเนินงาน ทุกวันศุกร์ รายงานผลการนิเทศ ทุกวันจันทร์ ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วันอังคาร-พฤหัสบดี ออกนิเทศ
เป้าหมายสุดท้าย คุณภาพผู้เรียน ความสามารถจัดการเรียนการสอน สถานศึกษามีคุณภาพ
กรอบการนิเทศ 1. การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการ ประเมินผลนักเรียนนานาชาติ(PISA) 2. การเตรียมความพร้อมของนักเรียนสู่ประชาคม อาเซียน 3. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ พกพา(Tablet) 4. การจัดการเรียนการสอนภาษาไทย(การอ่านออก เขียนได้) 5. การยกระดับผลสัมฤทธิ์ในวิชาหลัก
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ(PISA) ความเป็นมา การเข้าร่วมรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Programme for international Student Assessment) วัดนักเรียนที่จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีอายุ 15 ปี(เกิด มิ.ย.39-พ.ค.40)
มีความสามารถพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตในโลกที่มีความเปลี่ยนแปลงหรือไม่ เพียงใด ความรู้และทักษะที่จำเป็นสำหรับการเรียนรู้ตลอดชีวิตจะเป็นตัวชี้วัดศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจจากความรู้ 3 ด้าน คือ การอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
PISA ไม่ประเมินความรู้ตามหลักสูตร จะเน้นความรู้และทักษะที่ต้องใช้ในชีวิตจริงนอกโรงเรียนในอนาคต
ประเทศไทยเข้าร่วมในปี ค. ศ. 2000 ประเมินทุก ๆ 3 ปี ประเมินมาแล้ว ประเทศไทยเข้าร่วมในปี ค.ศ. 2000 ประเมินทุก ๆ 3 ปี ประเมินมาแล้ว..... ครั้ง ในปี ค.ศ. 2012 จะเน้นความสามารถด้านคณิตศาสตร์ร้อยละ 60 ของข้อสอบทั้งหมด
ผลการสอบ จะถูกนำไปประเมินเพื่อใช้เป็นเกณฑ์หนึ่งในการจัดลำดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และการพิจารณาความน่าลงทุน ทำให้นานาชาติมองไทยว่า “ยังเป็นประเทศด้อยคุณภาพการศึกษา” หมายความว่า “ศักยภาพของคนไทยต่ำกว่านานาชาติ”
เมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน ผลสอบ ต่ำกว่าสิงคโปร์มาก นักเรียนไทยมีผลประเมินค่อนข้างต่ำ คะแนนไทยสูงกว่าอินโดนีเซียเพียงประเทศเดียว และมีแนวโน้มจะลดลงเรื่อยๆ
ในปีนี้ จะมีประเทศเวียดนาม และมาเลเซีย เข้าร่วมด้วย กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งเป้าหมายไว้ว่า ภายในปี 2561 ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาด้านคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จะต้องเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ยนานาชาติ
สพฐ.คงต้องกลับไปทบทวน กระบวนการสอบ และกระตุ้นให้ครูฝึกตั้งคำถามปลายเปิด ที่ให้เด็กได้คิดวิเคราะห์ และแก้ปัญหา
การนิเทศเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลัก ประกอบด้วย ภาษาไทย วิทยาศาสตรื คณิตศาสตรื ภาษาต่างประเทศ สังคมศึกษาฯ
หลักการ 1 ตรง 2 เต็ม ตรงประเด็น เต็มกำลัง เต็มพื้นที่
ภารกิจ การจัดระบบข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำแนกนักเรียน สูง กลาง ต่ำ ผลสัมฤทธิ์ต่ำกว่าเกณฑ์
กำหนดมาตรการ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามนโยบายปฏิรูปการศึกษาฯ มีแผนพัฒนาผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ การนิเทศภายใน ในการกำกับติดตามผลที่เป็นรูปธรรม สนับสนุนวัสดุ สื่อและงบประมาณ อื่นๆ-: ครูใช้สื่อ ฐานข้อมูล ประเมินผล ผู้ปกครอง
การเตรียมความพร้อมของนักเรียนสู่ประชาคมอาเซียน
ตอนที่ 1 ความความสำและความเป็นมาของ สมาคมอาเซียน 1. โครงสร้างของประชาคมอาเซียน 2. กฎบัตรอาเซียน 3. เสาหลักประชาคมอาเซียน 4. ปัญหาและอุปสรรคของประชาคมอาเซียน
ตอนที่ 2 แนวทางการบริหารจัดการของ สถานศึกษา 1. คุณลักษณะของเด็กไทยในประชาคม อาเซียน 2. แนวทางการบริหารจัดการเรียนรู้สู่ ประชาคมอาเซียน 3. การนิเทศภายใน ติดตาม การ ประเมินผลการดำเนินงาน
การพัฒนาหลักสูตรประชาคมอาเซียนสู่สถานศึกษา 1. การจัดการเรียนรู้เรื่องอาเซียนในกลุ่มสาระ สังคมฯ 2. การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการในกลุ่มสาระต่าง ๆ 3. การจัดการเรียนรู้โดยจัดทำเป็นรายวิชาเพิ่มเติม 4. การจัดกิจกรกาเรียนรู้ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 5. การจัดเป็นกิจกรรมเสริม
การเตรียมความพร้อมการใช้คอมพิวเตอร์พกพา(Tablet) เพื่อยกระดับการเรียนการสอน แบบสำรวจข้อมูลพื้นฐานการเตรียมความพร้อม TABLET จำนวน 1968 เครื่อง(ร้อยละ 48) เอกชน ได้ จำนวน 192 เครื่อง