ยุทธศาสตร์พัฒนาลุ่มน้ำยม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน
Advertisements

พื้นที่จุดอ่อนน้ำท่วมและการแก้ปัญหา
วันพฤหัสบดีที่ 29 มีนาคม 2555 เวลา น
ตำรวจภูธรจังหวัดระนอง
รายงานเรื่อง ภาคเหนือ
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
พายุ แกมี ได้สลายตัวเป็นร่องความกดอากาศต่ำ และยังคงพาดผ่านจังหวัดเพชรบุรี ส่งผลให้มีฝนตกถึงวันที่ 10 ตค. 55 สำหรับพายุที่ก่อตัวขึ้นใหม่มีทิศทางเคลื่อนตัวไปทิศเหนือ.
กลุ่ม อินทนนท์.
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
โครงการชลประทานหนองคาย
การพัฒนาลุ่มน้ำปิงตอนล่างแบบบูรณาการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม จ.กำแพงเพชร
RID INNOVATION 2011 ระบบฐานข้อมูล รายงานสถานการณ์น้ำรายวัน สำนักชลประทานที่ 14.
....มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน โครงการกิ่วคอหมา
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การบริหารจัดการน้ำและแก้ไขปัญหาอุทกภัยของประเทศ
ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
พื้นที่ลุ่มน้ำภาคตะวันออก ลุ่มน้ำชายฝั่งทะเลตะวันออก
นายวิบูลย์ทัต สุทันธนกิตต์ ผู้อำนวยการสำนักงานสถิติแห่งชาติ
พื้นที่ประสบอุทกภัย วาตภัย ดินถล่ม
แผนเตรียมพร้อมด้านการแพทย์และสาธารณสุข
พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล รองประธานกรรมการหอการค้าไทย วันพุธที่ 21 ธันวาคม 2554 ณ ห้องคริสตัล ฮอลล์ โรงแรมพลาซ่า แอทธินี บูรณาการประเทศไทย ก้าวพ้นภัยพิบัติ
พื้นที่โครงการ 11 พื้นที่
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน ขุด ตัก ลอกหรือดูดทรายหรือดินในที่ดินกรรมสิทธิ์ สำหรับใช้ในการก่อสร้าง.
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
การประชุมผู้บริหารกรมทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 9/2549 ระเบียบวาระที่ 4.4 การจัดทำคำของบประมาณจาก กองทุนสิ่งแวดล้อมเพื่อการฟื้นฟู อนุรักษ์แหล่งน้ำ ธรรมชาติ การจัดทำข้อเสนอโครงการเพื่อ.
วาระที่ การจัดทำแผนพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการปรับปรุงฟื้นฟูห้วยน้ำลี
วาระที่ 4.1 การเบิกจ่ายงบประมาณกันเหลื่อมปี วาระที่ 4.1 การเบิกจ่ายงบประมาณกันเหลื่อมปี
ข้อเสนอตัวชี้วัดของกรมทรัพยากรน้ำ ปี ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการ ให้บริการสารสนเทศทรัพยากรน้ำ ผ่านระบบเครือข่าย เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ.
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
โครงการแก้ปัญหาภัยพิบัติโดยชุมชน บ้านห้วยลากปืนใน ต. ห้วยไร่ อ
เขื่อนชีบน และ เขื่อนยางนาดี จังหวัดชัยภูมิ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
ห้างหุ้นส่วนจำกัด กองมณีก่อสร้าง
การประชุมผู้บริหารสำนักชลประทานที่ 10
รายละเอียดข้อมูลเพื่อจัดทำแผนบริหารจัดการน้ำ
การบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้ง
ผบ. ปภ. ชาติ ( รมว. มท.) หรือ ผอ. กลาง ( อ. ปภ.) ผอ. จังหวัด ( ผว. จว.) แผน ปภ. จว./ แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ภัยแล้ง ก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ
แผนงบประมาณ ปี 2558 – 2559 งบประมาณ ล้านบาท
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
ส่วนเครื่องจักรกล ผลการปฏิบัติงาน งานซ่อมแซมอาคารระบายน้ำปลายคลองส่งน้ำสายใหญ่ แม่วังฝั่งซ้าย ดำเนินการโดย ฝ่ายปฏิบัติการเครื่องจักรกลงานดิน ช่วงระยะเวลา.
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย
การประชาคมชุมชน โครงการการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านการชลประทานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน กองแผนงาน กรมชลประทาน โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ สำนักชลประทานที่
ดินถล่ม.
โครงการประตูระบายน้ำห้วยบังอี่ บ้านนาโพธิ์ ตำบลโพธิ์ไทร
โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านชลประทาน
สำนักพัฒนาแหล่งน้ำขนาดกลาง
The paris พระรามเก้า - รามคำแหง การเตรียมพร้อมรับมือการเกิดอุทกภัย ปี 2555.
นายกรัฐมนตรี กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง (ความรุนแรงระดับ 4)
การซักซ้อมแผนการเฝ้าระวังแจ้งเตือนภัยดินถล่ม ณ บ้านไทรงาม หมู่ ๑๕ ตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี กรมทรัพยากรธรณีได้ดำเนินการซักซ้อมแผนการเฝ้าระวังแจ้งเตือนภัยดินถล่ม.
อุตุนิยมวิทยากับการแจ้งเตือนภัย
แผนงบประมาณ ปี 2558 – 2561 งบประมาณ ล้านบาท
เทคนิคการวิเคราะห์พื้นที่ และเทคโนโลยีการผลิตพืช
ระบบส่งน้ำสถานีสูบน้ำ PL2 PL3
ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในจังหวัดน่าน
ผลการดำเนินงานตามระบบ MRCF อำเภอบึงนารางจังหวัดพิจิตร ปี 2557 การพัฒนาตามนโยบายและ แนวทางการส่งเสริมการเกษตร MRCF ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของสำนักงานเกษตรอำเภอบึงนาราง.
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง
แผนงบประมาณ ปี 2558 – 2559 งบประมาณ ล้านบาท
ศูนย์อำนวยการบรรเทาสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินจากสาธารณภัย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ.
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
วันรับรางวัล อสม.ดีเด่นระดับชาติประจำปี 2553 ณ หอประชุมเจ้าพระยา กองทัพเรือ กรุงเทพฯ วันที่ 24 มิถุนายน 2553.
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
สำนักส่งเสริมการป้องกันสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยุทธศาสตร์พัฒนาลุ่มน้ำยม รายงาน เรื่อง ยุทธศาสตร์พัฒนาลุ่มน้ำยม เสนอ อาจารย์ วรรณา ไชยศรี

รายชื่อสมาชิก 1.นายสุธี สมบูรณ์ เลขที่ 3 1.นายสุธี สมบูรณ์ เลขที่ 3 2.นายอัครพนธ์ อินทรพรหม เลขที่ 4 3.นายพิทักษ์พงษ์ แสงอยู่ เลขที่ 10 4.นายมารุต เมฆฉาย เลขที่ 11 5.นางสาวรสริน อิ่มพราหมณ์ เลขที่ 18

ยุทธศาสตร์การพัฒนาลุ่มน้ำยม แม่น้ำยมมีต้นกำเนิดจากดอยขุนยวม อ.ปง จ.พะเยาไหลผ่านจังหวัดแพร่ สุโขทัย พิษณุโลกพิจิตร บรรจบแม่น้ำน่านที่นครสวรรค์ รวม 735 กม . แม่น้ำยมไหลผ่านจังหวัดแพร่รวมความยาว 280 ก.ม. ปริมาณน้ำท่า ปริมาณน้ำท่าแม่น้ำยมทั้งหมด 3,708.33 ล้าน ลบ.ม./ปี ลุ่มน้ำสาขาหลัก 16 สาย 778.75 ล้าน ลบ.ม./ปี ลุ่มน้ำสาขาย่อย 26 สาย 759.75 ล้าน ลบ.ม./ปี แก่งเสือเต้น 931.00 ล้าน ลบ.ม./ ปี ลุ่มน้ำงาว 354.928 ล้าน ลบ.ม./ปี ปริมาณน้ำท่าแม่น้ำยมไหลออกจาก จ.แพร่ 2,690.47 ล้าน ลบ.ม./ปี = 73 %

ภาพปัญหาอุทกภัย ของลุ่มน้ำยม ( ในเขตจังหวัดแพร่ ) การเกิดอุทกภัยแบ่งเป็น 2 ลักษณะ ลักษณะที่ 1 การเกิดอุทกภัยในพื้นที่ริมฝั่งน้ำและในเขตเทศบาลเมืองแพร่ ลักษณะที่ 2 การเกิดอุทกภัยจากน้ำป่าไหลหลาก และโคลนถล่มใกล้บริเวณที่ลาดชันกับภูเขา การเฝ้าระวัง การเกิดอุทกภัย มีสถานีวัดน้ำฝน - น้ำท่า 2 แห่งในลำน้ำยม จังหวัดแพร่ คือ 1 สถานี Y.20 บ้านห้วยสัก อ . สอง 2. สถานี Y.1C บ้านน้ำโค้ง อ . เมือง

แนวทางป้องกันและบรรเทาผลกระทบการเกิดอุทกภัย • พื้นที่ชุมชน / เขตเศรษฐกิจ - จัดเตรียมถุงทราย - จัดเตรียมเจ้าหน้าที่เฝ้าระวังและแจ้งเตือนภัย 24 ชม . - ตั้งศูนย์ให้ความช่วยเหลือ ( ก่อน - ระหว่าง - หลังเกิดภัย ) - ขุดลอกลำน้ำยมและลำน้ำสาขา เพื่อเร่งระบายน้ำ - แก้ปัญหาการรุกล้ำลำน้ำของราษฎร - ก่อสร้างสถานีสูบน้ำในเขตเทศบาล - ขุดคลองระบายน้ำเลี่ยงเมือง - เร่งรัดติดตั้งระบบเตือนภัย เพื่อลดความเสียหายด้วยระบบโทรมาตร • พื้นที่เกษตรกรรม - บริหารจัดการน้ำในแหล่งน้ำ ( เก็บกัก ระบาย ขุดลอก ปรับปรุง ) โดยใช้งบ CEO - จัดเตรียมแผนฟื้นฟูช่วยเหลือเกษตรกรหลังน้ำลด

ด้านการป้องกัน - ได้มีการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงภัยพร้อมและจัดทำแผนฯ และทำการซ้อมแผนฯ โดยให้ ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัยมีส่วนในการจัดทำทุกขั้นตอน - จัดทำแผนที่เสี่ยงภัย โดยใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ( GIS ) - ดำเนินการจัดฝึกอบรมเครือข่ายด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จำนวน 4 รุ่น และทำการฝึกอบรม อปพร . 23 รุ่น - จัดตั้งชุดช่วยเหลือผู้ประสบภัยเร่งด่วนเมื่อได้รับการร้องขอจากอำเภอ หรือหน่วยงานอื่น ๆ และองค์กรบริหารส่วนท้องถิ่น ณ สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดแพร่ - ติดตั้งเครื่องวัดปริมาณน้ำฝน จำนวน 97 เครื่อง - ติดตั้งเครื่องไซเรนเตือนภัยแบบมือหมุน จำนวน 29 เครื่อง

ปริมาณน้ำฝน ข้อมูลปริมาณน้ำฝนในจังหวัดแพร่ระหว่างวันที่ 13 – 18 มิถุนายน 2547 สถานี Y.20 ( บ้านห้วยสัก อำเภอสอง ) สถานี Y.1C ( บ้านน้ำโค้ง อำเภอเมือง ) สถานีอุตุนิยมวิทยา อำเภอเมืองแพร่ , อำเภอสูงเม่น , และอำเภอเด่นชัย มีปริมาณฝนรายวันสูงสุด เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2547 ปริมาณฝนตกหนักจำนวน 3 สถานี ที่อำเภอเมืองแพร่วัดได้ 119.0 มม . อำเภอสูงเม่นวัดได้ 170.8 มม . และอำเภอเด่นชัยวัดได้ 175.0 มม . สถิติน้ำท่วมเขตตัวเมืองแพร่ ปี 2548 ระดับน้ำที่ สถานี Y.20 วัดได้ 13.08 เมตร ใช้เวลาเดินทาง 16-17 ชั่วโมง ถึง สถานี Y.1c ระดับน้ำขึ้นสูงถึง 11.73 เมตร ( ระดับตลิ่ง 8.20 เมตร )

แหล่งอ้างอิง www.m-industry.go.th