ชื่อสมบัติของการเท่ากัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Advertisements

อัตราส่วนของจำนวนหลายๆ จำนวน
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
Computer Programming 1 1.หากต้องการพิมพ์ให้ได้ผลลัพธ์ดังนี้ต้องเขียน code อย่างไร (ใช้for)
BC320 Introduction to Computer Programming
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
LAB # 3 Computer Programming 1
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ที่เป็นผลต่างของกำลังสอง
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
อสมการ.
We well check the answer
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 2 สัดส่วน สัดส่วน หมายถึง ประโยคที่แสดงการเท่ากันของอัตราส่วนสองอัตราส่วน.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
อสมการ (Inequalities)
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เศษส่วน.
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
การแยกตัวประกอบพหุนาม
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อสมบัติของการเท่ากัน เรื่อง สมบัติของการเท่ากันในระบบจำนวน ข้อที่ จำนวน ชื่อสมบัติของการเท่ากัน 1 8 = 8 สมบัติการสะท้อน 2 9 = 9 3 100 = 100 4 ถ้า 6 = 5 + 1 แล้ว 5 + 1 = 6 สมบัติการสมมาตร 5 ถ้า 8 = 3 + 5 แล้ว 3 + 5 = 8 6 ถ้า 10 = 7 + 3 แล้ว 7 + 3 = 10 7 ถ้า 42 = 16 และ 16 = 7 + 9 แล้ว 42 = 7 + 9 สมบัติการถ่ายทอด 8 ถ้า 52 = 25 และ 25 = 20 + 5 แล้ว 52 = 20 + 5 9 ถ้า 72 = 49 และ 49 = 40 + 9 แล้ว 72 = 40 + 9 10 ถ้า 4  5 = 20 แล้ว (4  5) + 3 = 20 + 3 สมบัติการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน 11 ถ้า (2  6) = 12 แล้ว (2  6) + 2 = 12 + 2 12 ถ้า 3  2 = 6 แล้ว (3  2) + 5 = 6 + 5 13 ถ้า (4  3) = 12 แล้ว (4  3)  5 = 12  5 สมบัติการคูณด้วยจำนวนที่เท่ากัน 14 ถ้า (5  2) = 10 แล้ว (5  2)  6 = 10  6 15 ถ้า = 4 แล้ว  4 = 4  6

สรุป ถ้าให้ a, b, c เป็นจำนวนใด ๆ แล้วสมบัติของการเท่ากันในระบบจำนวนจริง มีดังนี้ 1. สมบัติการสะท้อน a = a เช่น 3 = 3 2. สมบัติการสมมาตร ถ้า a = b แล้ว b = a เช่น 4 = 3 + 1 แล้ว 3 + 1 = 4 3. สมบัติการถ่ายทอด ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c เช่น 62 = 36 และ 36 = 20 + 16 แล้ว 62 = 20 + 16 4. สมบัติการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c เช่น ถ้า 4  8 = 32 และ c = 2 แล้ว (4  8) + 2 = 32 + 2 5. สมบัติการคูณด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า a = b แล้ว ac = bc

เรื่อง การไม่เท่ากัน สัญลักษณ์การไม่เท่ากัน สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเปรียบเทียบการไม่เท่ากันของจำนวนสองจำนวน มีดังนี้ “ > , < ,  ,  ” เช่น 1) n > 1 หมายถึง จำนวนเต็มทุกจำนวนที่มีค่ามากกว่า 1 เช่น n = 2, 3, 4, … 2) n < 3 หมายถึง จำนวนเต็มทุกจำนวนที่มีค่าน้อยกว่า 3 เช่น n = 2, 1, 0, -1, … 3) n  3 หมายถึง n เป็นจำนวนที่มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 3 เช่น 3, 4, 5, … 4) n  8 หมายถึง n เป็นจำนวนที่มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 8 เช่น 8, 7, 6, 5, …

ตัวอย่าง การอ่านสัญลักษณ์ของการไม่เท่ากันและความหมาย 1) a < b อ่านว่า a น้อยกว่า b หมายถึง a มีค่าน้อยกว่า b 2) a  b อ่านว่า a น้อยกว่าหรือเท่ากับ b หมายถึง a มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ b 3) a > b อ่านว่า a มากกว่า b หมายถึง a มีค่ามากกว่า b 4) a  b อ่านว่า a มากกว่าหรือเท่ากับ b หมายถึง a มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ b 5) a < b < c อ่านว่า a น้อยกว่า b และ b น้อยกว่า c หมายถึง a มีค่าน้อยกว่า b และ b มีค่าน้อยกว่า c 6) a  b  c อ่านว่า a น้อยกว่าหรือเท่ากับ b และ b น้อยกว่าหรือเท่ากับ c หมายถึง a มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ b และ b มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ c 7) a < b  c อ่านว่า a น้อยกว่า b และ b น้อยกว่าหรือเท่ากับ c หมายถึง a มีค่าน้อยกว่า b และ b มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ c 8) a  b < c อ่านว่า a น้อยกว่าหรือเท่ากับ b และ b น้อยกว่า c หมายถึง a มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ b และ b น้อยกว่า c ประโยคที่มีสัญลักษณ์ “>” , “<” , “” , “” ข้างต้น เรียกว่า อสมการ

แผ่นโปร่งใส สมบัติของการไม่เท่ากัน ให้ a, b, c เป็นจำนวนใด ๆ 1. สมบัติการถ่ายทอด ถ้า a > b และ b > c แล้ว a > c เช่น 10 > 5 และ 5 > 1 แล้ว 10 > 1 2. สมบัติการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า a > b แล้ว a + c > b + c เช่น 3 > 2 ให้ c = 3 จะได้ 3 + 3 > 2 + 3 หรือ 6 > 5 c = -4 จะได้ 3 + (-4) > 2 + (-4) หรือ -1 > -2 3. สมบัติการคูณด้วยจำนวนเท่ากันที่มากกว่าศูนย์ ถ้า a > b และ c > 0 แล้ว ac > bc เช่น 6 > 2 ให้ c = 3 จะได้ 6  3 > 2  3 หรือ 18 > 6 c = 4 จะได้ 6  3 > 2  3 หรือ 24 > 8 “สมบัติของการไม่เท่ากัน สามารถนำไปใช้ในการแก้อสมการ”