ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดทำความตกลงการค้าเสรี อาเซียน - สหภาพยุโรป
Advertisements

การพยาบาลผู้ป่วยและผู้ใช้บริการจากกลุ่มประเทศอาเซียน
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
“IDA คิด IDA ทำ นำอาเซียน IDA คิด IDA ทำ นำอาเซียนสู่สังคมโลก”
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ก้าวใหม่ที่ท้าทาย หรือ ความฝันที่ไกลเกินจริง
ดร.อัศนีย์ รัตนมาลัย โดย อดีต : ผู้อำนวยการสถาบันยุทธศาสตร์การค้า
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ AEC มุมมองภาครัฐ ( )
วิกฤต-โอกาส กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
Digital Engineering for Product Design, Development & Manufacturing รศ
รอบรู้อาเซียน.
ความเป็นมาของไทยกับ AFTA
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
บรรยาย เรื่อง AEC Asean Economic Community
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การก่อตั้งประชาคมอาเซียน
การขับเคลื่อนภาคการเกษตร สู่ประชาคมอาเซียน
อาเซียน: กศน. กับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ใน ปี 2558
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการ กระทรวงมหาดไทย การประชุมคณะกรรมการเตรียม ความพร้อมของ กระทรวงมหาดไทยในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน.
อุตสาหกรรมเด่นของไทย มูลค่าส่งออก (ล้านบาท)
กรอบความร่วมมือด้านผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป
กรอบการเจรจาความตกลงด้านมาตรฐาน และการตรวจสอบและรับรอง ภายใต้คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน (ASEAN Consultative Committee for Standards.
ประชาคมอาเซียน.
ปฏิญญาการศึกษา: รากฐานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ที่มาของอาเซียน Association of Southeast Asian Nations (ASEAN)
การเตรียมความพร้อมของสาขาบริการสุขภาพ
การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”. การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”
Dr. Panu Sittiwong Uttaradit Rajabhat University
AEC กับระบบหลักประกันสุขภาพไทย
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สัญลักษณ์ของอาเซียนคืออะไร
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC ASEAN ECONOMIC COMMUNITY
การเตรียมการของคณะครุศาสตร์ สู่การเป็นประชาคมอาเซียน
จุดเริ่มต้นของอาเซียน
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
พลังชุมชน สู่สุขภาพดีในยุคประชาคมอาเซียน : บทบาทสถานศึกษา
แผนความร่วมมือระหว่างประเทศ
บทบาทของข้าราชการฝ่ายปกครองกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
ประเทศสมาชิกอาเซียน.
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ความไม่แน่นอนปี 2554
เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
งานทะเบียนนักศึกษากับ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทย
เด็กชาย รัฐติพงศ์ คงจันทร์ ม.2/11 เลขที่ 15 ชิ้นงานที่8
จัดทำโดย ด.ญ. เนตรชนก จีระวัตร์ เสนอ อาจารย์ฐิตาพร ดวงเกตุ
เป็นเป้าหมายของการรวมตัวกันของประเทศสมาชิก อาเซียน เพื่อเพิ่มอำนาจต่อรองและขีดความสามารถ การแข่งขันของอาเซียนในเวทีระหว่างประเทศในทุก ด้าน รวมถึงความสามารถในการรับมือกับปัญหาใหม่ๆ.
อาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. เปมิกา เปสลาพันธ์ ม.1/16 เลขที่ 36
ความสัมพันธ์ไทยกับ อาเซียน 22 ธันวาคม อาเซียน.
แนวทางการเชื่อมโยง “อาเซียน” สู่ระบบการศึกษาของ ประเทศไทย และ นโยบายการขับเคลื่อน การศึกษาสู่ประชาคม “อาเซียน” จันทรา ตันติพงศานุรักษ์ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Asean Economics Community : AEC
A E C โครงการเตรียมความพร้อมเส้นทางสนับสนุนโลจิสติกส์และการท่องเที่ยว
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC )
แนวทางการเชื่อมโยง “อาเซียน” สู่ระบบการศึกษาของ ประเทศไทย และ นโยบายการขับเคลื่อน การศึกษาสู่ประชาคม “อาเซียน” จัดเผยแพร่ โดย กองร้อยตำรวจตระเวรชายแดนที่
แม้อาเซียนจะมิได้มีสนธิสัญญาหรือกฎบัตรมา ตั้งแต่ต้น แต่เมื่อเวลาผ่านไปอาเซียนก็ได้ พัฒนาความร่วมมือโดยอาศัยฐานในทาง กฎหมายระหว่างประเทศมากขึ้น เช่น.
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
เรื่อง ธงชาติในอาเซียน
Welcome.
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
กฎบัตรอาเซียน และ อาเซียนบลูปรินส์
เรื่องที่นักส่งเสริมการเกษตรควรรู้
A ASEAN E ECONOMICS C COMMUNITY GO TO 31 DECEMBER 2015 FOR THAI CUSTOMS DEPARTMENT นักวิชาการศุลกากร ชำนาญการพิเศษ :
ครูจงกล กลาง ชล 1. 2 รู้และเข้าใจ เกี่ยวกับกิจกรรม การผลิตที่ เกี่ยวข้องกับการ แลกเปลี่ยนหรือ ซื้อขาย.
ประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา... ไม่มีอะไรจะอธิบายย จบปิ๊ง.
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
ประวัติความเป็นมาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
จัดทำโดย ด. ช. ณัฐดนัย เกตุมณี ม.1/3 เลขที่ 3 ด. ช. นวพล ไทยอุส่าห์ ม.1/3 เลขที่ 9 เสนอ อ. ฐิตาพร ดวงเกตุ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐดนัย เกตุมณี ม.1/3 เลขที่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ในอีก 4 ปีข้างหน้า หรือ ปี 2558 ประเทศไทย และสมาชิกในกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก็จะรวมตัวกันเป็น “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” อย่างเป็นทางการ ซึ่ง ณ เวลานี้บรรดาผู้คนมากมายในหลากหลายวงการทั้งภาครัฐ และเอกชน ต่างเริ่มหันมาให้ความสนใจในประเด็นนี้มากขึ้น รวมไปถึงการค้นคว้า และหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ AEC มากขึ้น เพื่อทำความรู้จักกันให้ดีก่อนว่า ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มีประโยชน์ และส่งผลกระทบอย่างไร AEC คืออะไร   ก่อนที่จะกล่าวถึงประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ต้องย้อนไปกล่าวถึงอาเซียนก่อนเพราะว่าประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC นั้นถือเป็นหนึ่งในความร่วมมือของบรรดาประเทศในสมาชิกอาเซียน โดยอาเเซียน (ASEAN : Association of Southeast Asian Nations) เป็นองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ประกอบด้วยสมาชิก 10 ประเทศ คือ ประเทศไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ อินโดนีเซีย บรูไน กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม สำหรับสมาชิก 4 ประเทศคือ กัมพูชา ลาว พม่าและเวียดนาม จะเรียกว่า กลุ่ม CLMV ซึ่งเป็นสมาชิกที่เข้ามาเพิ่มภายหลัง สมาชิกอาเซียนได้ตกลงกันว่าจะร่วมมือกันใน 3 ด้านหลัก คือ ด้านความมั่นคง ด้านสังคมและวัฒนธรรม และด้านเศรษฐกิจ จึงได้จัดตั้งประชาคมแต่ละด้านขึ้น คือ 1. ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community : ASC) 2. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio - Cultural Community : ASCC) 3. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC)

นอกจากนี้ใน AEC Blueprint ยังได้กำหนดยุทธศาสตร์ไว้ 4 ด้านหลัก คือ ข้างต้นนี้จึงเป็นที่มาของ AEC และตามข้อตกลงกัน AEC จะต้องเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2558 หรือ ค.ศ. 2015 ซึ่งจะมีการกำหนดระยะเวลาการลดอัตราภาษีนำเข้าสินค้า ของประเทศสมาชิกอาเซียนไปเรื่อยๆ จนถึงพ.ศ. 2558 ที่ประเทศในกลุ่มอาเซียนจะไม่มีการเรียกเก็บภาษีสินค้ากับประเทศสมาชิกในภูมิภาคเดียวกัน นอกจากนี้ใน AEC Blueprint ยังได้กำหนดยุทธศาสตร์ไว้ 4 ด้านหลัก คือ การเป็นตลาดเดียวและฐานการผลิตร่วมกัน ให้สามารถเคลื่อนย้าย สินค้า บริการ การลงทุน แรงงานฝีมือ (Skilled Labour) ได้อย่างเสรี การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทาง เศรษฐกิจของอาเซียน เช่น กำหนดกรอบนโยบายภาษี นโยบายการแข่งขัน สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ฯลฯ การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค เพราะประเทศสมาชิกอาเซียนจะแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มสมาชิกเก่าซึ่งมีฐานทางเศรษฐกิจดีกว่ากลุ่มสมาชิกใหม่ (กลุ่ม CLMV) การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจทั่วโลก ดำเนินการ เพื่อประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับ ประเทศนอกภูมิภาค เช่น การจัดทำเขตการค้าเสรี การสร้างเครือข่ายการผลิตและการจำหน่าย ดังนั้น AEC จึงถูกตั้งขึ้นมาโดยมีจุดมุ่งหมายหลักเดียวกันคือ การนำกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนเข้ามารวมตัวเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกันทั้งหมด (Single Market and Single Pro duction Base) ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับการรวมตัวของกลุ่มประเทศในฝรั่งยุโรปหรือ EU โดยจะมีการเคลื่อนย้ายอยู่ภายในภูมิภาคอย่างเสรี ในสาขา ได้แก่ สินค้า การบริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานฝีมือ เป้าหมายของ AEC การรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปี 2558 นั้น จุดมุ่งหมายหรือเป้าหมายหลักก็คือ การสร้างเขตการผลิตรวมเป็นหนึ่งเดียวกัน หรือตลาดเดียวกัน (Single Market and Production Base) ซึ่งนำไปสู่การเคลื่อนย้ายปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการผลิตต่างๆได้อย่างเสรี ผู้ประกอบการสามารถเลือกที่จะดำเนินกระบวนการผลิตที่ใดก็ได้ในภูมิภาค รวมไปถึงการใช้ทรัพยากรของแต่ละประเทศทั้งวัตถุดิบการผลิต และแรงงาน ที่จะเป็นส่วนหนึ่งให้เกิดการลดต้นทุนการผลิตสินค้าได้อย่างมาก นอกจากนี้สินค้าแต่ละประเภทที่ผลิตขึ้นภายใต้ AEC ยังจะมีมาตรฐานสินค้า และมีกฏระเบียบเดียวกัน ทำให้สามารถแข่งขันกับตลาดนอกภูมิภาคได้เป็นอย่างดี