ข้อเสนอว่าด้วย ระบบเลือกตั้งและสถาบันการเมือง การนำเสนอผลการวิจัย โครงการ“การสร้างองค์ความรู้เพื่อการปฏิรูปการเมือง”
เป้าหมายของระบบการเมือง เสถียรภาพของระบบการเมือง ประสิทธิภาพของการบริหารและระบบตรวจสอบ การมีส่วนร่วมของประชาชน
เป้าหมายของระบบเลือกตั้ง ให้ได้ตัวแทนที่เป็นอิสระ และจากกลุ่มคนทุกกลุ่มในสังคมอย่างเสมอภาค เท่าเทียม (Representative Justice) เอื้อต่อการจัดการปกครองที่มีประสิทธิภาพ (Governing Capability)
ระบบเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ให้ประกอบด้วยสมาชิก 400 คน ใช้ระบบเลือกตั้งแบบผสมระหว่างระบบเขตและระบบสัดส่วน (mixed members proportional representation system---MMP) แบ่งเป็นส.ส.ระบบเขต 1 เขต 1 คน จำนวน 300 คน และส.ส.ระบบสัดส่วน (บัญชีรายชื่อ) จำนวน 100 คน โดยใช้ทั้งประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง
ระบบเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ผู้ใช้สิทธิเลือกตั้งมี 2 คะแนนเสียง 1 คะแนนสำหรับเลือกผู้สมัครในระบบเขต และ 1 คะแนนสำหรับเลือกผู้สมัครจากบัญชีรายชื่อหรือในระบบสัดส่วน คะแนนที่พรรคการเมืองได้รับจากระบบสัดส่วน เป็นตัวกำหนดจำนวนที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรของพรรคการเมืองนั้น
พรรคการเมือง ที่นั่ง ส.ส.ระบบเขต ส.ส.ระบบสัดส่วน รวม เปอร์เซ็นต์คะแนนเสียง จากระบบสัดส่วน* ส.ส.ระบบเขต ส.ส.ระบบสัดส่วน รวม ผลเดิม ผลใหม่ ผลเดิม สมควรได้ ประชาธิปัตย์ 40.64% ไทยรักไทย 200 48 18 248 218 26.58% 97 31 45 128 142 ชาติไทย 35 6 41 35 (28) 5.32% ความหวังใหม่ 28 8 9 36 37 7.02% ชาติพัฒนา 22 7 10 29 32 6.13% เสรีธรรม 14 1 14 15 2.82% ถิ่นไทย 1 10 1 11 2.11% ราษฏร 2 4 2 6 1.25% ประชากรไทย 6 6 1.19% กิจสังคม 1 1 1 0.20% รวม 400 100 103 500 503 93.08%
วุฒิสภา ปัญหาที่มา ความชอบธรรม จำนวนคะแนนเสียงของผู้ชนะในระบบ SNTV ผู้มีอิทธิพลหรือครอบครัวนักการเมือง อำนาจหน้าที่
วุฒิสภา 1. กลั่นกรองกฎหมาย 2. ตรวจสอบการทำงานของฝ่ายบริหาร อำนาจหน้าที่ตามที่ปรากฏในร่างรัฐธรรมนูญ 2550 1. กลั่นกรองกฎหมาย 2. ตรวจสอบการทำงานของฝ่ายบริหาร (มติ 3ใน 5 ยื่นเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจโดยไม่ลงมติ) 3. รับรองผู้ทำหน้าที่ในองค์กรอิสระ 4. ถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง (มติ 3 ใน 5) 5. เสนอขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญร่วมกับส.ส. (1ใน5 ของทั้งสองสภา) และพิจารณา ลงมติร่วมกับส.ส. (มากกว่ากึ่งหนึ่งของทั้งสองสภา)
ระบบเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 100 คน เป็นตัวแทนของจังหวัด อย่างน้อยจังหวัดละ 1 คน ส่วนจังหวัดที่มีประชากรเกิน 600,000 คน อาจมีสมาชิกวุฒิสภาได้มากกว่า 1 คน โดยให้แบ่งจังหวัดออกเป็นเขตเลือกตั้งตามความเหมาะสม ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาแบบจัดลำดับความชอบ (Alternative Vote หรือ Preferential Voting) โดยผู้ชนะการเลือกตั้งต้องได้รับคะแนนเสียงเกินกว่ากึ่งหนึ่ง (Absolute Majority) ของผู้ใช้สิทธิเลือกตั้งในเขตนั้น
ตัวอย่างบัตรเลือกตั้ง โปรดเลือกผู้สมัครโดยเรียงลำดับตามความชอบ 1 คือชอบที่สุด นายแดง นางดำ นายชมพู นายเขียว นางฟ้า 3 5 2 4 1
ระบบเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา รอบแรกนับเฉพาะผู้สมัครที่ถูกเลือกเป็นลำดับที่หนึ่งในบัตรเลือกตั้ง ผู้สมัครที่ได้คะแนนเกิน 50% ถือว่าเป็นผู้ชนะในเขตนั้น หากยังไม่มีผู้ใดได้คะแนนเสียงเกิน 50% ให้ตัดผู้สมัครที่ได้คะแนนเสียงน้อยที่สุดออกไป และนำบัตรเลือกตั้งที่เลือกผู้สมัครที่ได้คะแนนเสียงน้อยที่สุดมานับใหม่ โดยโอนคะแนนนั้นไปให้ผู้สมัครที่ถูกเลือกในอันดับที่สอง ทำเช่นนี้เรื่อยไปจนได้ผู้ชนะการเลือกตั้งด้วยคะแนนเกินกึ่งหนึ่งของผู้ใช้สิทธิในเขตนั้น
ระบบเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา ผู้ใช้สิทธิเลือกตั้ง120 คน ลำดับ 44 คะแนน 3 คะแนน 16 คะแนน 10 คะแนน 47คะแนน 1 ดำ เขียว ฟ้า แดง 2
ระบบเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา เขียวได้รับคะแนนน้อยที่สุด ถูกตัดทิ้ง โอน 3 คะแนน ให้ฟ้า ฟ้ามี 26 ได้รับจากเขียว 3 รวมเป็น 29 ฟ้ามี 29 น้อยที่สุด โอนให้เขียว 19 ให้แดง 10 แดงมี 47+10+57 เขียวถูกตัดทิ้งไปแล้ว จึงโอน 19 คะแนนให้ลำดับต่อไปคือดำ ดำมี 44+19=63 เป็นผู้ชนะ ดำ เขียว ฟ้า แดง รอบ1 44 3 26 47 รอบ 2 29 รอบ 3 63 57
ข้อดี ข้อเสีย ได้ผู้ชนะที่มีความชอบธรรม ผู้ชนะต้องหาเสียงในวงกว้าง ส่งผลให้ได้ผู้ชนะที่ต้องเป็นที่ยอมรับของคนทุกกลุ่ม ส่งเสริมให้เกิดการประนีประนอมระหว่างกลุ่มคนหลากหลายความคิดเห็น ข้อเสีย เป็นภาระของผู้ใช้สิทธิที่ต้องทำความรู้จักผู้สมัครจำนวนมาก การนับคะแนนอาจเข้าใจยาก