แนวทาง การทำงานในเชิงรุก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บรรยายพิเศษ เรื่อง วิชาชีพวิศวกรโครงสร้าง
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
ประชุมคณะกรรมการตรวจรับงานฯ คณะที่ปรึกษาโครงการ AM/FM/GIS
OpenProject รุ่นที่ มกราคม 2553 การเคหะแห่งชาติ อ
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Graduate School Khon Kaen University
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
เพื่อรับการประเมินภายนอก
“ การเพิ่มประสิทธิภาพการตั้งงบประมาณ หมวดค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ”
การจัดซื้อ – จัดจ้าง และสรรหาผู้รับจ้าง
การตรวจสอบระบบบริหารคุณภาพภายใน
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน.
สรุปกิจกรรม : โสเหล่ครั้งที่ 5 การเตรียมสอบสอน/การยื่นผศ. 29 พ. ค
PDCA คืออะไร P D C A.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
แผนยุทธศาสตร์กองทัพเรือ พ.ศ.๒๕๕๕ - ๒๕๕๘
Chapter 9 การปรับแต่งระบบให้เหมาะสมกับ การใช้งาน.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
ขั้นตอนการบริหารกิจกรรม 5ส
รายงาน (Report).
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
ขั้นตอนการใช้งานระบบ E-Project Management
ระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน ทางอิเล็กทรอนิกส์ของ สป.
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
การบริหารจัดการ PDCA cycle
 โครงการเป็นเครื่องมือในการบริหารงานและ พัฒนาองค์กร และเป็นการแปลงแผนแม่บทไปสู่ การปฏิบัติ
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.

เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ฝ่ายประกัน คุณภาพ (Quality Assurance Department).
TQM M4 แจ้งวัฒนะ - ราชพฤกษ์.
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
กรณีตัวอย่างการจัดซื้อจัดจ้าง
หลักการเขียนโครงการ.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
1. การ ดำเนินตามระเบียบงานสาร บรรณที่เกี่ยวข้อง 2. ความสามารถ ดำเนินการด้านสาร บรรณตามเวลาที่กำหนด 3. มีระบบ ป้องกันการสูญหายของ เอกสาร 4. การเผยแพร่ขั้นตอนในการ.
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพ
การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality control : QCC
โครงการจัดทำระบบการติดตามและบริหาร งบประมาณของกรมทางหลวงชนบท (MBMS)
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือแพทย์
กิจกรรม เสริมสร้างมาตรฐานการทำงานที่ถูกต้องและ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เนื้อหา 1. การทบทวนความรู้ที่เกี่ยวกับงานก่อสร้างตั้งแต่ หมวด 1-6 และ ENDPRODUCT.
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
 วัตถุประสงค์กำหนดรายละเอียดของโครงการแต่ละคณะ / หน่วยงาน  ผู้ใช้งาน ผู้จัดทำโครงการของแต่ละคณะ / หน่วยงาน รูปแสดงหน้าจอบันทึกข้อมูล โครงการ.
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทาง การทำงานในเชิงรุก โดย ฝ่ายบริหารโครงการ

คำถาม ( ให้ตอบในใจ ) ถ้าคุณเป็นเจ้าของโครงการและต้องว่าจ้างตัวแทนควบคุมงานก่อสร้าง คุณหวังว่าจะให้ตัวแทนที่คุณว่าจ้างมาทำอะไรให้คุณบ้าง

แนวทางการทำงานเชิงรุก ทัศนคติของการทำงาน การเข้าใจกระบวนการและขั้นตอนการทำงาน การกระตือรือร้นและเอาใจใส่ในการทำงาน การทำงานเป็นทีม ( ปฎิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ครบถ้วน )

ข้อดีของการทำงานในเชิงรุก แผนงาน,งบประมาณ,คุณภาพได้ตามเป้า รู้จักวิธีการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา สร้างชื่อเสียง ให้กับตนเองและองค์กรฯ

ข้อเสียของการไม่ทำงานในเชิงรุก งานล่าช้า , คุณภาพต่ำ , งบบานปลาย ความพึงพอใจต่อองค์กรต่ำ ตรงข้ามกับข้อดี

การทำงานเชิงรุกทำอย่างไรและทำไมต้องทำ ต้องศึกษาและเรียนรู้รายละเอียดของงานล่วงหน้า เพื่อ ป้องกันและลดปัญหาที่อาจเกิดขึ้น PLAN - DO - CHECK - ACTION (PDCA)

ขั้นตอนการบริหารโครงการและควบคุมงานก่อสร้าง ทั้งหมด มี 21 ขั้นตอน P-PM-01 ถึง P-PM-21 ที่เกี่ยวข้องกับหน้างาน ~18 ขั้นตอน

การก่อสร้างโครงการ แบ่งเป็น 3 ช่วง ช่วงก่อนการก่อสร้าง ช่วงการก่อสร้าง ช่วงหลังการก่อสร้าง

แนวทางการทำงานเชิงรุกในแต่ละช่วง ช่วงก่อนการก่อสร้าง (PM / PH, Adviser) ทำความเข้าใจในงานของโครงการ Project Brief / Project Quality Plan (PQP) การแบ่งงานภายในทีม ศึกษาแผนการก่อสร้างโดยละเอียด มองภาพความสำเร็จของโครงการ สรุปวิธีการทำงานใน Kick Off Meeting การศึกษา Conceptual Design และ Diagram ต่างๆ

ช่วงการก่อสร้าง ระยะที่ 1 - สรุปงาน Pre-Construction แนวทางการทำงานเชิงรุกในแต่ละช่วง ช่วงการก่อสร้าง ระยะที่ 1 - สรุปงาน Pre-Construction ตัวอย่าง Support, สี, E/E Box งานตัวอย่าง (Mock-Up) การจัดทำ Combined Drawing การจัดทำ Shop Drawing Distribution Plant Room

ช่วงการก่อสร้าง (ต่อ) แนวทางการทำงานเชิงรุกในแต่ละช่วง ช่วงการก่อสร้าง (ต่อ) ระยะที่ 1 - สรุปงาน Pre-Construction การเร่งรัดเอกสารขออนุมัติใช้วัสดุอุปกรณ์ การสรุป Typical Detail การสรุป แบบฟอร์มใช้งานและ Flow Chart การติดตามให้เริ่มงานตามแผนการก่อสร้าง (Scheduling Management )

ช่วงการก่อสร้าง ระยะที่ 2 การตรวจสอบวัสดุอุปกรณ์ที่นำเข้าหน่วยงาน แนวทางการทำงานเชิงรุกในแต่ละช่วง ช่วงการก่อสร้าง ระยะที่ 2 การตรวจสอบวัสดุอุปกรณ์ที่นำเข้าหน่วยงาน การเดินดูหน้างาน (Adviser (QA) + PM / PH + Engineer / Technician) เพื่อตรวจสอบคุณภาพ และป้องกันการเกิดปัญหาการทำงานที่ไม่ได้คุณภาพ การศึกษา Installation Manual + ข้อควรระวังต่างๆ ในการติดตั้ง + ระยะที่ต้องเผื่อสำหรับติดตั้งอุปกรณ์วัด (ตัวอย่าง)

ช่วงการก่อสร้าง (ต่อ) แนวทางการทำงานเชิงรุกในแต่ละช่วง ช่วงการก่อสร้าง (ต่อ) ระยะที่ 2 การตรวจสอบความคืบหน้าของงานก่อสร้าง เมื่อเทียบกับแผนงานก่อสร้าง การวิเคราะห์และกำหนดแนวทางแก้ไขปรับปรุง ในกรณีงานล่าช้า (จาก S-Curve) การเตรียมการทดสอบ + แบบฟอร์ม + เครื่องมือวัดที่มีใบสอบเทียบฯ

ช่วงหลังการก่อสร้าง การตรวจสอบงานการติดตั้งครั้งสุดท้าย แนวทางการทำงานเชิงรุกในแต่ละช่วง ช่วงหลังการก่อสร้าง การตรวจสอบงานการติดตั้งครั้งสุดท้าย การเตรียมการทดสอบการทำงาน ศึกษา Pre-Test Run Instruction การติดตั้งเครื่องมือวัด / ตำแหน่ง + ถาวร + ชั่วคราว ร่วมทำการทดสอบ / ปรับแต่ง

ช่วงหลังการก่อสร้าง วิเคราะห์ผลที่ได้จากการทดสอบ แนวทางการทำงานเชิงรุกในแต่ละช่วง ช่วงหลังการก่อสร้าง วิเคราะห์ผลที่ได้จากการทดสอบ สั่งการให้ผู้รับเหมาจัดเตรยมเตรียมเอกสารก่อนส่งมอบงาน As-Built Drawing O&M Manual Training หนังสือส่งมอบงานภายในกำหนดเวลาสัญญา ใบรับประกันสินค้า และการติดตั้ง อื่น ๆ ฯลฯ

แนวทาง การทำงานในเชิงรุก โดย ฝ่ายบริหารโครงการ