สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย
กลุ่มวิชาชีพ/ วิชาการ/ กฎหมาย/ระเบียบ
ยุทธศาสตร์ชาติเพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย
กำหนดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
รายงานการวิจัย.
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
แนวทางการเลือกพื้นที่เป้าหมาย
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การบริหารงานงบประมาณ
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
ธุรกิจบ้านจัดสรรกับการเลือกซื้อของผู้บริโภค
นายกสมาคมธุรกิจบ้านจัดสรร
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
แนวทางการจัดทำแผนบริหารและพัฒนากำลังคน: Workforce Planning and Development Worksheet ดร.สุรพงษ์ มาลี ศูนย์บริหารกำลังคนภาครัฐ สำนักพัฒนาระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทน.
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ โครงการ การบริหารงบประมาณตามแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานทุกหน่วยงานใช้เงินงบประมาณ ทันเวลา.
Good Corporate Governance
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
แนวทางการสนับสนุนงบประมาณ องค์กรเอกชนด้านเอดส์
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
การบริหารจัดการทุนหมุนเวียน กลุ่มงานพัฒนาเงินนอกงบประมาณ
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ และ แผนธุรกิจ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การบริหารและกระบวนการวางแผน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การเขียนข้อเสนอโครงการ
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
สรุปการประชุมระดมความคิด
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
เรื่องแนวทางการพัฒนาไปสู่ธนาคารที่ดิน
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality control : QCC
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดทำแผนงานด้านความปลอดภัยในการทำงานสำหรับงานก่อสร้าง พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550 แนวคิดและแนวทางดำเนินการ ยุทธศาสตร์ชาติเพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย (ครั้งที่ 1) สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550

ประสบการณ์ นโยบายที่อยู่อาศัยแห่งชาติ ประเทศไทยเคยมีแผนนโยบายที่อยู่อาศัยระดับชาติ 2 ฉบับคือ นโยบายการพัฒนาที่อยู่อาศัย พ.ศ. 2526 นโยบายการพัฒนาที่อยู่อาศัย (ฉบับปรับปรุง) พ.ศ. 2531 ผู้รับผิดชอบคือ คณะกรรมการนโยบายที่อยู่อาศัย

นโยบายการพัฒนาที่อยู่อาศัย พ.ศ. 2526 มีขนาดค่อนข้างสั้น (24 หน้า) ประกอบด้วยนโยบายส่วนรวม และนโยบายเฉพาะ นโยบายส่วนรวม พัฒนาคุณภาพชีวิต การก่อสร้าง การเงิน องค์กรและการประสานงาน นโยบายเฉพาะ แยกเป็น นโยบายเฉพาะการเคหะแห่งชาติ นโยบายเฉพาะธนาคารอาคารสงเคราะห์

นโยบายการพัฒนาที่อยู่อาศัย (ปรับปรุง) พ.ศ. 2531 เหตุผลที่ปรับปรุง: ตลาดที่อยู่อาศัยขยายตัวเร็วมาก จากมาตรการกระตุ้นของรัฐบาล ใช้วิธีการ: (ก) ประเมินสภาพปัญหา (ข) กำหนดนโยบายเพื่อแก้ปัญหา (ค) กำหนดมาตรการ สภาพปัญหา กทม: ปัญหาโดยรวม: คุณภาพที่อยู่อาศัย สิ่งแวดล้อม สาธารณูปโภค การผลิต: ภาครัฐผลิตน้อย เอกชนขาดระบบจัดการดูแล บางครั้งผลิตมากเกินควร การเงิน: ธอส. เงินทุนระยะยาวไม่เพียงพอ ธพ.อื่นคิดดอกเบี้ยสูง แต่ดีขึ้นเรื่อย ๆ ผู้มีรายได้น้อยเข้าไม่ถึงเงินทุนเคหะ ที่ดิน: ชุมชนแออัดส่วนใหญ่เช่าที่ บางส่วนบุกรุกที่ราชการ แต่มีที่ว่างอยู่มาก (50%) มีการแบ่งย่อยที่ดินมากขึ้น เพื่อเลี่ยงข้อบังคับผังเมือง รัฐพัฒนาสาธารณูปโภคไม่ทัน

นโยบายการพัฒนาที่อยู่อาศัย (ปรับปรุง) พ.ศ. 2531 สภาพปัญหา กทม (ต่อ): กฎหมาย ระเบียบ: กทม. บังคับที่ว่างด้านหน้าตึกมากเกินไป หลีกเลี่ยงการขออนุญาตจัดสรรที่ดิน องค์กรและการประสานงาน: ไม่ประสานงานเท่าที่ควร ความเจริญไปตามถนนหลัก ขาดสาธารณูปโภคในส่วนอื่น เกิดที่ว่างเปล่าประโยชน์มาก เทคโนโลยีและวัสดุก่อสร้าง: วัสดุก่อสร้างไม่ได้มาตรฐาน นำเข้ามาก เครื่องจักรราคาสูง R&D มีน้อยมาก กิจกรรมพัฒนาทางสังคม: ผู้อยู่บ้านจัดสรรไม่เข้าร่วมกิจกรรมส่วนรวม รัฐไม่ส่งเสริมเพียงพอ สำหรับในเคหะชุมชน คนย้ายเข้าออกบ่อย ชุมชนไม่ต่อเนื่อง รัฐขาดกำลังพล ขาดแผนงาน ล่าช้า

นโยบายการพัฒนาที่อยู่อาศัย (ปรับปรุง) พ.ศ. 2531 สภาพปัญหา ภูมิภาค: มีส่วนคล้ายกับในเขต กทม. คือ ปัญหาคุณภาพที่อยู่อาศัย สินเชื่อไม่เพียงพอ มีชุมชนแออัดในเมืองใหญ่ ผู้ผลิตยังผลิตไม่สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย ตลาดที่ดิน ส่วนใหญ่ปลูกสร้างเอง จัดสรรน้อยกว่า กทม. มีความเป็นผังเมืองกว่า กทม. ชนบทไม่มีปัญหาขาดแคลนที่อยู่อาศัย แต่มีปัญหาสภาพเสื่อมโทรม การสร้างขาดหลักวิชา ขาดบริการสาธารณะรุนแรง (การศึกษา สาธารณสุข คมนาคม น้ำดื่มน้ำใช้)

โครงการยุทธศาสตร์ชาติเพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย พ.ศ. 2550 สร้างกรอบแนวทางยุทธศาสตร์ชาติเพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย ครอบคลุมที่อยู่อาศัยทุกระดับ ทุกประเภท ทุกพื้นที่ เน้นการระดมความคิดจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง มีงานวิจัยรองรับเท่าที่เป็นไปได้ ผลลัพธ์ที่คาดหมาย ผลการระดมความคิดที่ครอบคลุมประเด็นทางนโยบายครบถ้วน รวบรวมข้อดี-ข้อเสีย ของแต่ละมาตรการ/นโยบาย ผลงานสุดท้าย คือ ทางเลือกนโยบาย (policy options) ในระยะ 5-10 ปีข้างหน้า สำหรับให้พรรคการเมือง/รัฐบาลนำไปใช้

สัมมนา 1 (รวบรวมประเด็น) สัมมนา 3-4 (สังเคราะห์และสรุป) แผนการดำเนินงาน สัมมนา 1 (รวบรวมประเด็น) ประเด็น 1 ประเด็น x ประเด็น 3 ประเด็น 5 ประเด็น 2 ประเด็น 6 สัมมนา 2.x สัมมนา 2.3 สัมมนา 2.1 สัมมนา 2.2 สัมมนา 3-4 (สังเคราะห์และสรุป)

การสัมมนา ครั้งที่ 1 วัตถุประสงค์ วิธีการ รวบรวมประเด็นหลักการพัฒนาที่อยู่อาศัยครบถ้วน เสริมด้วยประเด็นย่อยในแต่ละประเด็นหลักพอสมควร วิธีการ บรรยายนำโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 2 รอบช่วงเช้า อภิปรายกลุ่ม 6 กลุ่ม ช่วงบ่าย

ตัวอย่างประเด็นการอภิปราย Demand & Supply ผังเมือง สาธารณูปโภค กฎหมาย ระเบียบ โครงสร้างภาษี การเงิน สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย รูปแบบองค์กรกำกับดูแลนโยบายที่อยู่อาศัย ระบบข้อมูลที่อยู่อาศัย บทบาทภาครัฐ vs ภาคเอกชน + ประเด็นต่าง ๆ ข้างต้นสำหรับที่อยู่อาศัยเพื่อผู้มีรายได้น้อย