การเรียนครั้งที่ 9 บทที่ 4: “Telecommunications, the Internet, Intranets, and Extranets” โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์ อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ปฏิบัติการครั้งที่ 4 การสื่อสารข้อมูล
การบริหารจัดการระบบเครือข่าย (Network management system)
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
IT Central Library KMITL
เทคโนโลยีสารสนเทศ โดย เด็กหญิงนฤมล พรมม่วง เลขที่ 29 ชั้น ม.2/2
การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
องค์ประกอบและรูปแบบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
การสื่อสารข้อมูลและ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของการสื่อสาร
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล เป็นกระบวนการถ่ายโอนข้อมูล/สารสนเทศจาก แหล่งกำเนิดข่าวสารผ่านสื่อกลาง เพื่อส่งไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการ.
การนำสายใยแก้วนำแสงมาเชื่อมต่อ หัวเชื่อมต่อที่นิยมใช้มี ดังนี้
เทคโนโลยีสารสนเทศ มีเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือหลัก
ข้อมูลระบบอินเตอร์เน็ตในโรงเรียนสำหรับผู้ใช้จำนวนไม่เกิน 1000 คน
ระบบสารสนเทศเบื้องต้น
ระบบอินเทอร์เนตสำหรับ User ไม่เกิน 1,000 คน
ISDN (Integrated Services Digital Network)
Data Transferring.
บทที่ 3 ในการเชื่อมต่อเครือข่าย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Cable Twist-pair (สายคู่บิดเกลียว) Coaxial (สายโคแอกเชียล)
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
1). ระบบเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN)
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
เนื้อหา วัตถุประสงค์ของการใช้ระบบเครือข่าย
4/4/2017 การสื่อสารข้อมูล เทคโนโลยีเพื่อการส่งสัญญานข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยมีองค์ประกอบพื้นฐาน 4 อย่าง คอมพิวเตอร์ หรือ หน่วยรับข้อมูล หรือ.
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ทบทวนความเข้าใจ.
สื่อลางในการสื่อสารข้อมูล
What’s P2P.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่ 7 Local Area Network
การสื่อสารข้อมูล Data Communication Chapter 10 วชิรธรรมสาธิต
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ ๖จาร อินเตอร์เน็ตคืออะไร เมื่อพิจารณาแล้วอาจจัดแบ่งเป็น ๒ มุมมอง - มุมมองด้านองค์ประกอบ - มุมมองด้านบริการ มุมมองด้านองค์ประกอบ อินเตอร์เน็ต หมายถึง.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย ครูสุพิชชา ตันติธีระศักดิ์
Data Communication and Network
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย
ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2) นก. (Computer Network System) โดย อ.สมบูรณ์ ภู่พงศกร Chapter 1 Introduction.
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
Chapter 3 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
กิจกรรมที่ เครือข่ายและ Internet explorer จุดมุ่งหมาย ให้ผู้เรียนรู้จักการใช้ประโยชน์ จากเครือข่าย ให้ผู้เรียนรู้จักการใช้ประโยชน์ จากเครือข่าย ให้ผู้เรียนรู้จักวิธีการเผยแพร่
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
Network Management and Design
NETWORK.
บทที่ 7 Networks and Data Communications
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
ต่อไ ป. ต่อ ไป ต่อ ไป ระบบเครือข่ายในทางคอมพิวเตอร์นั้นก็คือ ระบบ ที่เกิดจากการนำเอาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ พรินเตอร์
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
ระบบคอมพิวเตอร์ และ การสื่อสาร กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
นางเชาวลี สมบูรณ์ดำรงกุล
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 โลกของเครือข่าย.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (COMPUTER NETWORK)
ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ เบื้องต้น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเรียนครั้งที่ 9 บทที่ 4: “Telecommunications, the Internet, Intranets, and Extranets” โดย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์ อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

แผนการสอน แจ้งเกี่ยวกับการบรรยายจากวิทยากรพิเศษ 2 ท่าน แจ้งเกี่ยวกับการงดสอนวันที่ 1 พ.ค. 2545 บรรยายเนื้อหาในบทที่ 4 (ช่วงที่ 1) อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

Telecommunications (โทรคมนาคม) หมายถึง การส่งสัญญาณอิเล็คทรอนิกส์ในการสื่อสาร Telecommunication Device (อุปกรณ์โทรคมนาคม) จะหมายถึง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทำให้เกิดการสื่อสารแบบอิเล็คทรอนิกส์ อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

จากรูปหน้า 132 Figure 4.1 แสดงส่วนประกอบของระบบโทรคมนาคม (Telecommunication Systems) อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

หน่วยวัดความเร็วในการรับส่งข่าวสาร Bit per second (bps) คือ ข่าวสาร 1 bit ต่อการส่งใน 1 วินาที Thousand of bits per second (Kbps) คือ ข่าวสาร 1,000 bits ต่อการส่งใน 1 วินาที Million of bits per second (Mbps) คือ ข่าวสาร 1,000,000 bits ต่อการส่งใน 1 วินาที giga of bits per second (Gbps) คือ ข่าวสาร 1,000,000,000 bits ต่อการส่งใน 1 วินาที อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

ความหมายของส่วนประกอบต่างๆ ของ โทรคมนาคม Transmission Media หมายถึง ตัวกลางในการส่งสัญญาณ การเลือกใช้ ตัวกลางฯ ควรเลือกให้เหมาะกับจุดประสงค์ของการสร้างระบบสารสนเทศขององค์กร และจุดประสงค์โดยรวมของการดำเนินธุรกรรมขององค์กร อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

Media Types (a) Twisted-pair wire cable (b) Coaxial cable (c) Fiber-optic cable Microwave transmission Cellular transmission Infrared transmission อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

Telecommunication Devices อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

Dedicated Line (สายเชื่อมต่อทางกายภาพ) หรือ บางครั้งเรียกว่า leased line (สายให้เช่า) Digital Subscriber Line (DSL) (ผู้เช่าสายสัญญาณแบบดิจิตอล) ให้ความเร็วในการส่งสัญญาณถึง 500 Kbps ในราคาประมาณ 20 เหรียญสหรัฐฯ อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

DSL versus Cable Modems อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

Comparison of Line and Service Types อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

Computer Network การเชื่อมต่อโดยใช้ ตัวกลาง อุปกรณ์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์มากกว่า 2 เครื่องเข้าด้วยกัน อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

1. Centralized Processing (การประมวลผลแบบมีศูนย์กลาง) กลยุทธ์พื้นฐานในการประมวลผลมี 3 กลยุทธ์หลักๆ ดังนี้ Data Processing Strategies 1. Centralized Processing (การประมวลผลแบบมีศูนย์กลาง) 2. Decentralized Processing (การประมวลผลแบบกระจาย) 3. Distributed Processing (การประมวลแบบแบ่งปัน) อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

ถ้าองค์กรใดองค์กรหนึ่งเลือกการประมวลผลแบบ Distributed Processing องค์กรนั้นสามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ได้หลายแบบ เช่น แบบ Terminal-To-Host แบบ File server แบบ client/ server อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

Terminal-to-Host Connection อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

File Server Connection การเข้าถึงข้อมูลส่วนที่ต้องการ จัดรูปแบบข้อมูล และ จัดแสดงภาพข้อมูลให้แก่ผู้ใช้ ณ เครื่องของผู้ใช้เอง อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

Client/Server Connection ส่วน เครื่อง Clients คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่ในการรับข้อมูล ซึ่งเครื่อง Clients สามารถทำการประมวลผลได้ด้วย อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

Local Area Network (LAN) การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ภายในสำนักงานหรือโรงงาน ดูรูปหน้า 139 อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

Wide Area Network (WAN) เป็นการเชื่อมต่อในพื้นที่ที่กว้างกว่า LAN มักครอบคลุมประเทศใดประเทศ อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

International Networks เป็นการเชื่อมต่อระหว่างประเทศต่างๆ ถ้ากฏหมายเข้มงวด เรียก Transborder Data Flow ถ้ากฏหมายไม่เข้มงวด เรียก Data Havens อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

Home Computer Network อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

The Internet ดูรูปหน้า 142 (Internet Protocol = IP) (Transport Control Protocol = TCP) อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

Arpanet เป็นโครงการเริ่มโดย กระทรวงกลาโหม (Department of Defense) ถือเป็นต้นกำเหนิดของ Internet ในปัจจุบัน โครงการ Project Oxygen การใช้สายใยแก้วนำแสง (Fiber-optic) ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั่วโลก มากกว่า 80 ประเทศ โครงการจะสำเร็จในขั้นแรกในปี 2003 อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

Internet2 (I2) เป็นวิวัฒนาการขั้นต่อไปของการใช้อินเตอร์เน็ต เกิดขึ้นโดย UCAID ในการพัฒนาการใช้อินเตอร์เน็ตให้มีความรวดเร็วมากขึ้นถึง 2 Gbits per second อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์

Accessing the Internet อ.เพ็ญจิรา คันธวงศ์