กฎหมายมรดก.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มที่ 2 1. ผู้เยาว์สิ้นสุดการเป็นผู้เยาว์เมื่อใด
Advertisements

สมาชิก 1.น.ส.เจตนิพิฐ พงศ์พฤกษธาตุ เลขที่ 15 2.น.ส.ชนิตา ปรีชากิตติไพศาล เลขที่ 16 3.น.ส.ปฏิมาล์ ศิริพิรุณ.
LA 102: Business Law สัญญาซื้อขาย.
กฎหมายอาญาภาคทั่วไป ผศ. สุรวุธ กิจกุศล.
ชีวิตครอบครัว นายธวัชชัย สาบัว ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย
วิธีการยื่นเรื่อง ขอรับเงินคืน.
วิชา มรดก ครั้งที่ ๔ เมทินี ชโลธร.
วิชา มรดก โดย เมทินี ชโลธร.
ส่วนการทะเบียนทั่วไป สำนักบริหารการทะเบียน
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
อุทธรณ์.
โดย สุทธิพงษ์ กาญจนเกษร
ประกาศราคาเบื้องต้นฯ และทำสัญญาเวนคืน
แนวทางการลงโทษวินัย ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535
วิธีการทำสัญญากู้ยืมและสัญญาค้ำประกัน
วิชาว่าความและ การถามพยาน
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
4. โมฆกรรมและโมฆียกรรม (กลุ่มที่ 10).
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
เกี่ยวกับการเงินและการพัสดุ
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
สิทธิของข้าราชการทหาร
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
การขัดกันแห่งกฎหมาย (Conflict of law)
ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการตั้งครรภ์แทน
หนังสือทางวิชาการ โดย อ.ว่าที่ร.ต.เศรษฐ์ อินสกุล
การใช้กฎหมายเกี่ยวกับการชำระบัญชี
กฎหมายลักษณะบุคคล.
YOUR SUBTITLE GOES HERE
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
The Comptroller General’s Department
การกู้ยืมเงิน.
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง
คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) กับการประนีประนอมข้อพิพาท
ทะเบียนชื่อบุคคล โดย สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง
ทะเบียนครอบครัว โดย สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง
พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.​ ๒๕๕๑
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
The Comptroller General’s Department
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. ...
“ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวินัย” โดย พ. ต. ท
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการ พลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข เกี่ยวกับการกำหนดและจ่าย ค่าทดแทน (
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
การพิจารณาอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ สำหรับพนักงานส่วนท้องถิ่น
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
การตรวจสอบหลักฐาน เพื่อเชื่อมโยงสิทธิ ระหว่างผู้มีสิทธิกับบุคคลในครอบครัว ในการจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐตามโครงการจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาล
เอกสารอ้างอิง ที่ใช้ในการจัดทำฐานข้อมูล
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราช อิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย.
พินัยกรรมแบบธรรมดา วันที่ 13 เมษายน 2552
กฎหมายมรดก การรับมรดกแทนที่.
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
บทที่ 1 บุคคล.
มาตราปี 56 อะไรเป็นมรดก ทายาทโดยธรรม (ผู้สืบสันดาน ,บิดามารดา) และส่วนแบ่ง การรับมรดกแทนที่ การกำจัด ,ตัด ,สละมรดก และผลต่อผู้สืบสันดาน แบบพินัยกรรม ,พยานในพินัยกรรม.
ร้อยโท ดร. ธนพจน เอกโยคยะ
บริการพยาบาลด้วยใจ ให้เข้าถึงสิทธิ ไม่ผิดกฎหมาย
บ้านและทะเบียนบ้าน.
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
นิติกรรม และ สัญญา บทนำ สิทธิและหน้าที่ สิทธิ มีความหมาย 2 นัย
มาตรา ๑๔๔๙ การสมรสจะกระทำมิได้ถ้าชายหรือหญิง เป็นบุคคลวิกลจริต หรือเป็นบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็น คนไร้ความสามารถ.
มาตรา ๑๔๔๘ การสมรสจะทำได้ต่อเมื่อชาย และหญิง มีอายุสิบเจ็ดปีบริบูรณ์แล้ว แต่ในกรณีที่มีเหตุอันสมควร ศาลอาจอนุญาตให้ทำการ สมรสก่อนนั้นได้
มาตรา ๑๔๕๒ ชายหรือหญิงจะทำการสมรสในขณะที่ตนมีคู่ สมรสอยู่ไม่ได้
สวัสดิการการรักษาพยาบาล
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ทะเบียนราษฎร.
รับรองการเกิด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กฎหมายมรดก

กองมรดก ได้แก่อะไร ทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ ที่โดยสภาพไม่เป็นการเฉพาะตัวของผู้ตาย

การตกทอดแห่งทรัพย์มรดก โดยพินัยกรรม โดยผลของกฎหมาย

ผู้มีสิทธิรับมรดก ทายาท วัด แผ่นดิน

ลำดับชั้นของทายาทโดยธรรม 1. ผู้สืบสันดาน 2. บิดามารดา 3. พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 4. พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน 5. ปู่ ย่า ตา ยาย 6. ลุง ป้า น้า อา คู่สมรส ทายาทลำดับบนจะตัดสิทธิลำดับล่าง ยกเว้น ลำดับที่ 1 ไม่ตัดสิทธิ ลำดับที่ 2

(บุตรของบุตรของบุตร) (บุตรของบุตรของบุตรของบุตร) ใครคือผู้สืบสันดาน บุตร หลาน (บุตรของบุตร) เหลน (บุตรของบุตรของบุตร) โหลน (บุตรของบุตรของบุตรของบุตร) ลื้อ

บุตรที่มีสิทธิรับมรดก ได้แก่ บุตรชอบด้วยกฎหมาย บุตรที่บิดาจดทะเบียนรับรองว่าเป็นบุตร บุตรที่ศาลพิพากษาว่าเป็นบุตรของบิดาก่อนบิดาตาย บุตรที่เกิดในระหว่างสมรส

บุตรที่มีสิทธิรับมรดก ได้แก่ 2. บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรอง 3. บุตรบุญธรรม 4. บุตรที่ฟ้องขอรับรับเด็กเป็นบุตร ภายในอายุความมรดก

การแบ่งมรดก (กรณีเจ้ามรดกมีคู่สมรส) การแบ่งมรดก (กรณีเจ้ามรดกมีคู่สมรส) 1. คู่สมรส / ผู้สืบสันดาน แบ่ง เท่าๆ กัน 2. คู่สมรส / บิดามารดา แบ่ง คู่สมรสได้ 1/2 3. คู่สมรส / พี่น้องร่วมบิดา มารดาเดียวกัน แบ่ง คู่สมรสได้ 1/2 4. คู่สมรส / พี่น้องร่วมบิดา หรือร่วมมารดาเดียวกัน แบ่ง คู่สมรสได้2/3 5. คู่สมรส / ปู่ ย่า ตา ยาย แบ่ง คู่สมรสได้2/3 6. คู่สมรส / ลุง ป้า น้า อา แบ่ง คู่สมรสได้2/3

กรณีเจ้ามรดกเป็นพระสงฆ์ ทรัพย์ที่ได้มาระหว่างบวชให้ตกสู่วัดที่พระมีภูมิลำเนา ยกเว้น พระสงฆ์รูปนั้นจะทำพินัยกรรม หรือโอนทรัพย์สินไปเสียก่อน

การเสียสิทธิในการรับมรดก สละมรดก (ผู้รับไม่รับเอง) ถูกกำจัดมิให้รับมรดก (กฎหมายกำหนด) ถูกตัดมิให้รับมรดก (เจ้ามรดกไม่ให้) ไม่ฟ้องเรียกมรดกภายใน กำหนดอายุความ 1 ปี

ต้องคำพิพากษาว่าเจตนา หรือพยายามฆ่าเจ้ามรดก หรือผู้มีสิทธิได้รับมรดกก่อนตน โดยมิชอบด้วยกฎหมาย ยักยอกทรัพย์มรดก สาเหตุในการถูกกำจัด มิให้รับมรดก เคยฟ้องเท็จว่าเจ้ามรดก ทำผิดโทษประหารชีวิต ปลอม ทำลาย ปิดบังพินัยกรรม รู้ว่าเจ้ามรดกถูกฆ่าโดยเจตนา แต่ไม่ยอมหาทางเอา ตัวผู้กระทำความผิดมาลงโทษ ฉ้อฉลหรือข่มขู่ให้เจ้ามรดกทำ เพิกถอนหรือเปลี่ยนแปลง พินัยกรรม

วิธีการตัดมิให้รับมรดก มอบให้กับพนักงานเจ้าหน้าที่ เขียนไว้ในพินัยกรรม ทำเป็นหนังสือ มอบให้กับพนักงานเจ้าหน้าที่

แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ทำภายหลังเจ้ามรดกตาย ของผู้สละมรดกที่เป็นทายาท ลักษณะ วิธี ผล ทำเป็นหนังสือมอบ แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ทำภายหลังเจ้ามรดกตาย ผู้สืบสันดาน ของผู้สละมรดกที่เป็นทายาท โดยธรรม รับมรดกแทนที่

พินัยกรรม เป็นนิติกรรมที่เจ้ามรดกทำขึ้นเพื่อแสดงเจตนาอันเป็นคำสั่งสุดท้าย กำหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สินของตน หรือในการต่างๆ อันจะให้เกิดผลบังคับได้ตามกฎหมายเมื่อตนตาย

บุคคลผู้ไม่มีสิทธิเป็นทายาทผู้รับพินัยกรรม ผู้เขียนพินัยกรรม / คู่สมรส พยานในพินัยกรรม / คู่สมรส ผู้ปกครอง / คู่สมรส ตลอดจน บุพการี ผู้สืบสันดานหรือพี่น้องของผู้ปกครอง

บุคคลผู้ไม่มีสิทธิเป็นพยานในพินัยกรรม ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ คนวิกลจริต หรือ คนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ คนหูหนวก เป็นใบ้ หรือตาบอดทั้งสองข้าง

แบบของพินัยกรรม 1. แบบธรรมดา : จะต้องมีพยานลงชื่ออย่างน้อย 2 คน 2. เขียนเองทั้งฉบับ : เขียนด้วยลายมือของตนเอง 3. แบบเอกสารฝ่ายเมือง : ต้องแจ้งข้อความต่อหน้าพยาน ย่างน้อย 2 คน

แบบของพินัยกรรม 4. แบบเอกสารลับ : ต้องมีพยานที่อำเภอรับรองว่า เป็นพินัยกรรมของผู้ทำจริง 2 คน 5. ทำด้วยวาจา : ต้องแสดงเจตนาต่อหน้าพยานอย่างน้อย 2 คน