กฎหมายมรดก
กองมรดก ได้แก่อะไร ทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ ที่โดยสภาพไม่เป็นการเฉพาะตัวของผู้ตาย
การตกทอดแห่งทรัพย์มรดก โดยพินัยกรรม โดยผลของกฎหมาย
ผู้มีสิทธิรับมรดก ทายาท วัด แผ่นดิน
ลำดับชั้นของทายาทโดยธรรม 1. ผู้สืบสันดาน 2. บิดามารดา 3. พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 4. พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน 5. ปู่ ย่า ตา ยาย 6. ลุง ป้า น้า อา คู่สมรส ทายาทลำดับบนจะตัดสิทธิลำดับล่าง ยกเว้น ลำดับที่ 1 ไม่ตัดสิทธิ ลำดับที่ 2
(บุตรของบุตรของบุตร) (บุตรของบุตรของบุตรของบุตร) ใครคือผู้สืบสันดาน บุตร หลาน (บุตรของบุตร) เหลน (บุตรของบุตรของบุตร) โหลน (บุตรของบุตรของบุตรของบุตร) ลื้อ
บุตรที่มีสิทธิรับมรดก ได้แก่ บุตรชอบด้วยกฎหมาย บุตรที่บิดาจดทะเบียนรับรองว่าเป็นบุตร บุตรที่ศาลพิพากษาว่าเป็นบุตรของบิดาก่อนบิดาตาย บุตรที่เกิดในระหว่างสมรส
บุตรที่มีสิทธิรับมรดก ได้แก่ 2. บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรอง 3. บุตรบุญธรรม 4. บุตรที่ฟ้องขอรับรับเด็กเป็นบุตร ภายในอายุความมรดก
การแบ่งมรดก (กรณีเจ้ามรดกมีคู่สมรส) การแบ่งมรดก (กรณีเจ้ามรดกมีคู่สมรส) 1. คู่สมรส / ผู้สืบสันดาน แบ่ง เท่าๆ กัน 2. คู่สมรส / บิดามารดา แบ่ง คู่สมรสได้ 1/2 3. คู่สมรส / พี่น้องร่วมบิดา มารดาเดียวกัน แบ่ง คู่สมรสได้ 1/2 4. คู่สมรส / พี่น้องร่วมบิดา หรือร่วมมารดาเดียวกัน แบ่ง คู่สมรสได้2/3 5. คู่สมรส / ปู่ ย่า ตา ยาย แบ่ง คู่สมรสได้2/3 6. คู่สมรส / ลุง ป้า น้า อา แบ่ง คู่สมรสได้2/3
กรณีเจ้ามรดกเป็นพระสงฆ์ ทรัพย์ที่ได้มาระหว่างบวชให้ตกสู่วัดที่พระมีภูมิลำเนา ยกเว้น พระสงฆ์รูปนั้นจะทำพินัยกรรม หรือโอนทรัพย์สินไปเสียก่อน
การเสียสิทธิในการรับมรดก สละมรดก (ผู้รับไม่รับเอง) ถูกกำจัดมิให้รับมรดก (กฎหมายกำหนด) ถูกตัดมิให้รับมรดก (เจ้ามรดกไม่ให้) ไม่ฟ้องเรียกมรดกภายใน กำหนดอายุความ 1 ปี
ต้องคำพิพากษาว่าเจตนา หรือพยายามฆ่าเจ้ามรดก หรือผู้มีสิทธิได้รับมรดกก่อนตน โดยมิชอบด้วยกฎหมาย ยักยอกทรัพย์มรดก สาเหตุในการถูกกำจัด มิให้รับมรดก เคยฟ้องเท็จว่าเจ้ามรดก ทำผิดโทษประหารชีวิต ปลอม ทำลาย ปิดบังพินัยกรรม รู้ว่าเจ้ามรดกถูกฆ่าโดยเจตนา แต่ไม่ยอมหาทางเอา ตัวผู้กระทำความผิดมาลงโทษ ฉ้อฉลหรือข่มขู่ให้เจ้ามรดกทำ เพิกถอนหรือเปลี่ยนแปลง พินัยกรรม
วิธีการตัดมิให้รับมรดก มอบให้กับพนักงานเจ้าหน้าที่ เขียนไว้ในพินัยกรรม ทำเป็นหนังสือ มอบให้กับพนักงานเจ้าหน้าที่
แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ทำภายหลังเจ้ามรดกตาย ของผู้สละมรดกที่เป็นทายาท ลักษณะ วิธี ผล ทำเป็นหนังสือมอบ แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ทำภายหลังเจ้ามรดกตาย ผู้สืบสันดาน ของผู้สละมรดกที่เป็นทายาท โดยธรรม รับมรดกแทนที่
พินัยกรรม เป็นนิติกรรมที่เจ้ามรดกทำขึ้นเพื่อแสดงเจตนาอันเป็นคำสั่งสุดท้าย กำหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สินของตน หรือในการต่างๆ อันจะให้เกิดผลบังคับได้ตามกฎหมายเมื่อตนตาย
บุคคลผู้ไม่มีสิทธิเป็นทายาทผู้รับพินัยกรรม ผู้เขียนพินัยกรรม / คู่สมรส พยานในพินัยกรรม / คู่สมรส ผู้ปกครอง / คู่สมรส ตลอดจน บุพการี ผู้สืบสันดานหรือพี่น้องของผู้ปกครอง
บุคคลผู้ไม่มีสิทธิเป็นพยานในพินัยกรรม ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ คนวิกลจริต หรือ คนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ คนหูหนวก เป็นใบ้ หรือตาบอดทั้งสองข้าง
แบบของพินัยกรรม 1. แบบธรรมดา : จะต้องมีพยานลงชื่ออย่างน้อย 2 คน 2. เขียนเองทั้งฉบับ : เขียนด้วยลายมือของตนเอง 3. แบบเอกสารฝ่ายเมือง : ต้องแจ้งข้อความต่อหน้าพยาน ย่างน้อย 2 คน
แบบของพินัยกรรม 4. แบบเอกสารลับ : ต้องมีพยานที่อำเภอรับรองว่า เป็นพินัยกรรมของผู้ทำจริง 2 คน 5. ทำด้วยวาจา : ต้องแสดงเจตนาต่อหน้าพยานอย่างน้อย 2 คน