บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินโครงการลงทุน Capital Budgeting
Advertisements

การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
ค่าของทุน The Cost of Capital
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน
ความสำคัญของการบริหารการเงิน
ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
SYRUS Securities PLC. ก้าวสู่การลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ SYRUS Securities PLC.
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
การวางแผน ธุรกิจ เป็นกระบวนการ บริหารจัดการทาง การเงินที่สำคัญของ คณะกรรมการกองทุน หมู่บ้าน.
งบประมาณ และ กลยุทธ์ทางด้านการเงิน ธนชัย ผู้พัฒน์
Lesson 11 Price.
Statement of Cash Flows
ราคาและวิธีการกำหนดราคา
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
MARKET PLANNING DECISION
บทที่ 5 การจัดหาเงินทุนระยะสั้นและระยะปานกลาง Short- Term and Intermediate-Term Financing.
บทที่ 4 งบการเงิน.
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
Analyzing The Business Case
Financial Management.
ขับเคลื่อนนวัตกรรม ด้วยการเข้าใจตลาดและผู้ใช้
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 5 การวางแผนการผลิต.
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 2 การจัดหาเงินทุน (Financing)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
บทที่ 12 นโยบายเงินปันผล ( Dividend Policy )
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย
การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน
การจัดทำแผนธุรกิจ.
โครงสร้างของเงินทุนและการใช้ Leverage
เด็กไทยรุ่นใหม่ใส่ใจการออม
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
Chapter 11 ต้นทุนของเงินทุน
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
กรณีศึกษามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 สัญญาเช่า
ต้นทุนการผลิต.
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
Creative Accounting
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
อ.ส่งเสริม วจีทองรัตนา
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน ผลกระทบของ leverage ต่อผลตอบแทน ความเสี่ยงทางธุรกิจ (Business risk) และความเสี่ยงทางการเงิน (financial risk) ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ความหมาย: Leverage Leverage หมายถึง การใช้ต้นทุนคงที่ในการดำเนินงานหรือในโครงสร้างเงินทุน ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ความเสี่ยงทางธุรกิจ (Business Risk) และความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risk) ความเสี่ยงทางธุรกิจ: ความไม่แน่นอนของกำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษีในอนาคต ขึ้นอยู่กับปัจจัยทางธุรกิจ เช่นการแข่งขัน, operating leverage เป็นต้น ความเสี่ยงทางการเงิน: ความเสี่ยงที่ผู้ถือหุ้นสามัญได้รับจากการใช้ financial leverage ขึ้นอยู่กับปริมาณการจัดหาเงินทุนจากหนี้สิน และหุ้นบุริมสิทธิ์ ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ความเสี่ยงทางธุรกิจ (Business Risk) คืออะไร? ความไม่แน่นอนของกำไรจากการดำเนินงาน (EBIT) ในอนาคต Probability ความเสี่ยงต่ำ ความเสี่ยงสูง E(EBIT) EBIT ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ความเสี่ยงทางธุรกิจจะพิจารณาจากความผันผวนของกำไรจากการดำเนินงาน ดังนั้นความเสี่ยงทางธุรกิจจึงไม่ได้คำนึงถึงผลกระทบจากการจัดหาเงินทุน ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความเสี่ยงทางธุรกิจ ความไม่แน่นอนของความต้องการสินค้า (มีผลต่อยอดขาย) ความไม่แน่นอนของราคาสินค้า ความไม่แน่นอนของต้นทุนผลิต ตัวผลิตภัณฑ์ Degree of operating leverage (DOL) ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Operating leverage คืออะไร และมีผลกระทบต่อความเสี่ยงทางธุรกิจของบริษัทอย่างไร? Operating leverage คือระดับการใช้ต้นทุนคงที่ เมื่อสัดส่วนของต้นทุนคงที่ในโครงสร้างของต้นทุนเพิ่มขึ้น operating leverage ก็จะสูงขึ้น ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ operating leverage สูงขึ้นทำให้ความเสี่ยงทางธุรกิจสูงขึ้น เพราะการที่ยอดขายลดลงเพียงเล็กน้อย จะทำให้กำไรลดลงเป็นจำนวนมาก Sales $ Rev. TC FC QBE Profit } ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ตัววัด operating leverage จุดคุ้มทุน (Break-even point) Degree of Operating Leverage (DOL) ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คำนวณจุดคุ้มทุน จุดคุ้มทุน (Qb-e) = FC p - v FC—ต้นทุนคงที่ p—ราคาขายต่อหน่วย v—ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คำนวณ DOL Degree of Operating Leverage (DOL) = %∆EBIT %∆Q EBIT—กำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษี Q—ยอดขาย ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ความเสี่ยงทางการเงิน คือความแปรปรวนที่เกิดขึ้นกับผลตอบแทนของผู้ถือหุ้นสามัญ ซึ่งเกิดจากสัดส่วนของหนี้สินในโครงสร้างทุน ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

พิจารณาบริษัท 2 บริษัทต่อไปนี้ บริษัท U บริษัท L ไม่มีหนี้สิน มีหนี้สิน $10,000 ดอกเบี้ย 12% มีสินทรัพย์ $20,000 ภาษี 40% ทั้งสองบริษัทมี operating leverage, ความเสี่ยงทางธุรกิจ และกำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษี ($3,000) เหมือนกัน แตกต่างกันเพียงแค่โครงสร้างเงินทุนเท่านั้น ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ผลกระทบของ leverage ต่อผลตอบแทน บริษัท U บริษัท L EBIT $3,000 ดอกเบี้ย 1,200 กำไรก่อนภาษี $1,800 ภาษี (40%) 1 ,200 720 กำไรสุทธิ $1,080 ROE 9.0% 10.8% ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

เพราะเหตุใด การ leverage จึงทำให้อัตราผลตอบแทนสูงขึ้น? ผลตอบแทนรวมที่นักลงทุนได้รับ: U: กำไรสุทธิ = $1,800 L: กำไรสุทธิ + ดอกเบี้ย = $1,080 + $1,200 = $2,280 ส่วนต่าง = $480 ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ภาษีจ่าย: U: $1,200; L: $720 ส่วนต่าง = $480 นักลงทุนในบริษัท L จะได้รับส่วนแบ่งจากกำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษีมากกว่า ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

การวัดความเสี่ยงทางการเงิน Degree of Financial Leverage (DFL) ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คำนวณ DFL DFL = %∆EPS %∆EBIT EPS—กำไรต่อหุ้น EBIT—กำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษี ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ความเสี่ยงในมุมมองของผู้ถือหุ้น Stand-alone Business Financial risk risk risk = + . ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ