เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Advertisements

Holter Monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
Low-speed UAV Flight Control Phase II
ZigBee Data Analysis Using Vector Signal Analyzer
นางสาวสุรีย์พร ศรีภิรมย์
Low-speed UAV Flight Control Phase II
PC Based Electrocardiograph
Low-speed UAV Flight Control Phase II
Substation Data Logger เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย
เครื่องวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจโดยใช้PC
โดย นายมนชิต วชิรพรพงศา และ นายสรณัย จันทรโยธา
Air Condition Efficiency Meter เครื่องวัดประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศ
อุปกรณ์วัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบไร้สาย Wireless Electrocardiogram
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
Device for single – phase ac parameter measurement
โดย นางสาววรรณวนัช โอภาสพันธ์สิน รหัส นางสาวก้องกิดากร วรสาร รหัส
COE PC Based Electrocardiograph
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
รายงานการวิจัย.
โดย นายชญาน์ แหวนหล่อ นายธนวัฒน์ วัฒนราช
นายเจษฎา ช้างสีสังข์ นายกรกฏ สุภา COE อาจารย์ที่ปรึกษาดร. กิตติ์ เธียรธโนปจัย อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน 1 ดร. นว ภัค เอื้ออนันต์
ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ
เครื่องแสดงภาพโดยใช้คลื่นอัลตราโซนิก Ultrasonic Imaging System COE
Holter Monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา
PC Based Electrocardiograph
Holter Monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger
Holter Monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา
Holter Monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา
Low-Speed UAV Flight Control System
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์.
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
การวางแผนและการดำเนินงาน
ระบบข้อสอบออนไลน์.
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
The automated web application testing (AWAT) system
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานการศึกษาความเป็นไปได้
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์โครงสร้าง
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การศึกษาเปรียบเทียบระบบการแจ้งซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาปี 2553 A Comparative.
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบ อุปกรณ์ และคุณสมบัติที่ดีของคอมพิวเตอร์
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
เรื่อง คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง
บุคลากรคอมพิวเตอร์.
A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การจัดการฐานข้อมูล.
ระบบ RFID บนทางด่วน RFID systems on the highway
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงาน
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
OSI Model Open System Interconnection. Open Systems Interconnection (OSI) จัดตั้งและกำหนดโดย องค์การกำหนดมาตรฐานสากล หรือ ISO ( International Standards.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ อ.นวภัค เอื้ออนันต์ โดย นางสาวชลธิดา หลงพลอยพัด รหัส 483040100-6 นางสาวเสาวภาคย์ จำปาทอง รหัส 483040163-2

ความสำคัญและที่มาของโครงการ ในสถานีไฟฟ้าย่อยทุกแห่งต้องมีเครื่องบันทึกข้อมูลประจำเพื่อเก็บค่าทางไฟฟ้า เครื่องบันทึกข้อมูลในสถานีไฟฟ้าย่อยในปัจจุบันเป็นเครื่องบันทึกข้อมูลชนิดกระดาษต่อเนื่อง เล็งเห็นว่าควรนำเครื่องบันทึกข้อมูลดิจิตอลมาแทนที่

วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อพัฒนาเครื่องต้นแบบของอุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบดิจิตอล แก้ปัญหาเรื่องอุปกรณ์บันทึกข้อมูลเชิงกลที่ล้าสมัยของสถานีไฟฟ้าย่อย

ขอบเขตของโครงการ สร้างเครื่องบันทึกข้อมูลที่สามารถบันทึกค่าทางไฟฟ้าของสายส่งได้อย่างน้อย 1 สาย เครื่องมือที่พัฒนา มีโหมดการทำงาน 2 โหมด เป็นอย่างน้อย คือ การบันทึกข้อมูลในสภาวะปกติ การบันทึกข้อมูลในสภาวะผิดปกติ เครื่องที่พัฒนาสามารถตรวจจับความผิดปกติ เบื้องต้นของสายส่งและรายงานให้ผู้ใช้ทราบได้ ปกติ – watt VAR volt amp ประมาณ 5-10 point/s , ผิดปกติ – waveform ของ volt ,amp 3000sample/s

ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง Data Logger รูป : แสดงการทำงานของ Data Logger

ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) การศึกษา Lab VIEW หลักการทำงานของ Lab VIEW Acquisition เป็นส่วนที่รับข้อมูล (Input) จากภายนอกเข้าสู่ระบบ เมื่อได้รับข้อมูลแล้วจะผ่านการวิเคราะห์ข้อมูล Presentation คือ การแสดงผลโดยอาจแสดงผลบนหน้าจอคอมพิวเตอร์

ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) การศึกษา Lab view (ต่อ) รูป : แสดงภาพตัวอย่างโปรแกรม LabVIEW

ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) การเก็บข้อมูลจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิต รูป : เครื่องบันทึกข้อมูลที่ใช้ในสถานีไฟฟ้าย่อย

การออกแบบ ในการออกแบบนั้น ได้แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ การออกแบบฮาร์ดแวร์ การออกแบบซอฟต์แวร์

รูป : การออกแบบฮาร์ดแวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถเชื่อมต่อกับการ์ดรับส่งข้อมูลได้ การ์ดรับส่งข้อมูลซึ่งเป็น DAQ Card วงจรปรับสภาพสัญญาณ รูป : การออกแบบฮาร์ดแวร์ วงจรปรับสภาพสัญญาณ

การออกแบบซอฟต์แวร์ รูป : การออกแบบซอฟต์แวร์ 2. ทำหน้าที่บันทึกเวฟฟอร์ม ณ ปัจจุบันกับอดีต ช้อมูลใหม่ทับเก่าไปเรื่อยๆ (บันทึกแค่ชั่วขณะ) มี signal processing รูป : การออกแบบซอฟต์แวร์

การพัฒนาโปรแกรม การพัฒนาโปรแกรมแบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้ การพัฒนาด้านซอฟต์แวร์ การพัฒนาด้านฮาร์ดแวร์

การพัฒนาด้านซอฟต์แวร์ การพัฒนาด้านซอฟต์แวร์ แบ่งเป็น 4 ส่วนคือ การทำงานของโปรแกรมในส่วนของวงจรรับและแยกสัญญาณ การทำงานของโปรแกรมในส่วนของวงจร 3Phase Power Analysis การทำงานของโปรแกรมในส่วนของวงจร Alarm การทำงานของโปรแกรมในส่วนของวงจร Save File

การพัฒนาด้านซอฟต์แวร์(ต่อ) รูป : แสดงวงจรรับและแยกสัญญาณ

การพัฒนาด้านซอฟต์แวร์(ต่อ) รูป : แสดงวงจร 3Phase Power Analysis

การพัฒนาด้านซอฟต์แวร์(ต่อ) 1 2 3 รูป : แสดงวงจร Alarm แบบต่างๆ

การพัฒนาด้านซอฟต์แวร์(ต่อ) รูป : แสดงวงจร Save File ในแบบปกติ

การพัฒนาด้านซอฟต์แวร์(ต่อ) รูป : แสดงวงจร Save File ในแบบผิดปกติ

การพัฒนาด้านฮาร์ดแวร์ การออกแบบวงจรลงในโปรแกรม Eagle 5.2.0 Supply Voltage sensor Current sensor กัดแผ่นปริ้น และต่อวงจร นำวงจรไปทดสอบ

การพัฒนาด้านฮาร์ดแวร์(ต่อ) รูป : แสดงวงจร

ระบบของเครื่องบันทึกข้อมูลที่ได้ รูป : ระบบของเครื่องบันทึกข้อมูล

ผลการทำงานของโปรแกรม หน้าต่างหลักในการแสดงผล หน้าต่างเพื่อเรียกดูข้อมูลในสภาวะปกติ หน้าต่างเพื่อเรียกดูข้อมูลในสภาวะผิดปกติ

ผลการทำงานของโปรแกรม (ต่อ) รูป : ตัวอย่างผลการทำงานในหน้าต่างหลักในการแสดงข้อมูล

ผลการทำงานของโปรแกรม (ต่อ) รูป : ตัวอย่างผลการทำงานในหน้าต่างเพื่อเรียกดูข้อมูลในสภาวะปกติ

ผลการทำงานของโปรแกรม (ต่อ) รูป : ตัวอย่างผลการทำงานในหน้าต่างเพื่อเรียกดูข้อมูลในสภาวะผิดปกติ

สรุป ได้ปรับปรุงเครื่องบันทึกข้อมูลที่ใช้ในสถานีไฟฟ้าย่อยให้ดียิ่งขึ้น จากเดิมที่ใช้แบบกระดาษต่อเนื่อง ได้พัฒนาเป็นแบบดิจิทัล ซึ่งสามารถบันทึกค่าทางไฟฟ้าของสายส่งได้อย่างน้อย 1 สาย ( 6 ช่องสัญญาณ โดย 3 ช่องสัญญาณใช้สำหรับวัดค่าแรงดันไฟฟ้า และอีก 3 ช่องสัญญาณวัดค่ากระแสไฟฟ้า)

ปัญหาและอุปสรรค ผู้จัดทำโครงการไม่มีประสบการณ์ในการใช้โปรแกรม LabVIEW มาก่อน ทำให้ต้องทำการศึกษาใหม่และใช้เวลานานเพราะโปรแกรมมีความซับซ้อนและมีหลายฟังก์ชัน โครงการนี้เป็นโครงการที่ต้องใช้ความรู้ทางไฟฟ้าทั้งในการเขียนโปรแกรมและการทำวงจรไฟฟ้า ซึ่งผู้จัดทำโครงการไม่มีความชำนาญ ทำให้เกิดความสับสนและเกิดข้อสงสัยในทางไฟฟ้า

คำถามและข้อเสนอแนะ