Low-speed UAV Flight Control Phase II

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การอบรมการใช้ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
Advertisements

การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
เครื่องกั้นรถไฟอัตโนมัติ
เพื่อเพิ่มคุณภาพของการให้บริการ Enhance Service Quality
เพื่อเพิ่มคุณภาพของการให้บริการ Enhance Service Quality
COE : Microcat.
Object Location Tracking System (OLTS)
Holter Monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา
ซอฟต์แวร์ควบคุมหุ่นยนต์อย่างง่าย A Simplified Robot Controlling Software นายจักรี วิญญาณ นายนฤนารถ อออิงทรัพย์
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System
Device for single – phase ac parameter measurement
โปรแกรมจำลองการทำงาน
Low-Speed UAV Flight Control System
(Material Requirement Planning)
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
Low-speed UAV Flight Control Phase II
ZigBee Data Analysis Using Vector Signal Analyzer
General Purpose Prepaid Payment System COE ระบบชำระค่าบริการ ด้วยบัตรเงินสด ผู้จัดทำ โครงการ นายธนิด นะทะศิริ รหัส นายพัฒนพงศ์ ศรีทวีกาศ.
Low-speed UAV Flight Control Phase II
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย Wireless electronic voter
COE Graphic Programming Language for PIC MCU โดย นาย ชาติชาย ดิลกลาภ นาย ธีระพงศ์ มุกดาพิพัฒน์กุล อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ.
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย Wireless electronic voter
นางสาวสุรีย์พร ศรีภิรมย์
Low-speed UAV Flight Control Phase II
PC Based Electrocardiograph
Measuring wheels Capable of trajectory mapping in 2-D plane
Low-speed UAV Flight Control System
Low-speed UAV Flight Control Phase II
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย wireless electronic voter
Substation Data Logger เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย
หมายเลขโครงการ : COE ผู้พัฒนาโครงการ : นางสาวนิรมล พันสีมา รหัส
Low-Speed UAV Flight Control System
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย wireless electronic voter
เครื่องวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจโดยใช้PC
Multichannel Battery Monitor
อุปกรณ์วัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบไร้สาย Wireless Electrocardiogram
COE อาจารย์ที่ ปรึกษา โครงการ อาจารย์ที่ ปรึกษา โครงการ อ. ดร. วสุ เชาว์พานนท์ อาจารย์ผู้ ร่วมประเมิน โครงการ อ. ดร. กิตติ์ เธียร ธโนปจัย อ.
เครื่องกั้นรถไฟอัตโนมัติ
Speed Increasing of Blum Blum Shub Generator
Blum Blum Shub Generator การเพิ่มอัตราเร็วของแหล่งกำเนิดบลัม บลัม ชับ
โครงการเครือข่ายไฟจราจรอัจฉริยะ Intelligent Traffic Light Network
COE : ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ Smart Bus Stop
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
ไวท์บอร์ดเสมือนโดยใช้เทคโนโลยีของวีโมท
โปรแกรมออกแบบวงจรกรองความถี่ต่ำผ่านโดยใช้ค่าความต้านทานและตัวเก็บประจุมาตรฐาน โดย  นายชญาน์ แหวนหล่อ รหัส นายธนวัฒน์ วัฒนราช รหัส
COE PC Based Electrocardiograph
ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ COE Smart Bus Stop ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ COE Smart Bus Stop หลักการและเหตุผล หลักการและเหตุผล เทคโนโลยี Zigbee เป็นการสื่อสาร.
เว็บเซอร์วิสเรียกง่าย
COE Electronic Voting System
โดย นายชญาน์ แหวนหล่อ นายธนวัฒน์ วัฒนราช
โครงการเครือข่ายไฟจราจรอัจฉริยะ Intelligent Traffic Light Network
Blum Blum Shub Generator การเพิ่มอัตราเร็วของแหล่งกำเนิดบลัม บลัม ชับ
Graphic Programming Language for PIC MCU
นางสาวสุรีย์พร ศรีภิรมย์
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
ระบบเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สายในโรงงานอุตสาหกรรม
PC Based Electrocardiograph
Holter Monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร
โปรแกรมช่วยผู้ปกครองติดตาม ตำแหน่งของบุตรหลาน
Graphic Programming Language for PIC MCU
Holter Monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา
Low-Speed UAV Flight Control System
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 (ง31102)
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data
วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Low-speed UAV Flight Control Phase II COE 2009 - 02 Low-speed UAV Flight Control Phase II อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ อ. วาธิส ลีลาภัทร อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ. นวภัค เอื้ออนันต์ อ. วิชชา เฟื่องจันทร์ ผู้รับผิดชอบโครงการ นายวีรภัทร์ เจริญผล รหัส: 493040174-8 นายกฤษฏิ์ สุดนักรบ รหัส: 493040417-8 1

หัวข้อที่นำเสนอ ที่มาของโครงการ วัตถุประสงค์ของโครงการ ขอบเขตของโครงการ ส่วนของฮาร์ดแวร์ที่เพิ่มเข้ามา รูปแสดงการทำงานของแบบจำลอง ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไข สิ่งที่จะดำเนินงานต่อไป สรุป 2

ที่มาของโครงการ ระบบอากาศยานไร้คนขับ(UAV) เริ่มพัฒนาขึ้นมาใช้ในทางการทหาร ในส่วนของประเทศไทยเองยังไม่มีการใช้งานอย่างเป็นที่แพร่หลาย ผู้พัฒนาโครงการจึงต้องการพัฒนาต้นแบบเพื่อให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ในด้านต่างๆอย่างแพร่หลายมากขึ้น 3

วัตถุประสงค์ของโครงการ ศึกษาลักษณะการทำงานของระบบ GPS ศึกษาการเขียนโปรแกรมควบคุมมอเตอร์ ศึกษาและออกแบบโครงสร้างการทำงานของระบบ UAV สร้างระบบควบคุมการเคลื่อนที่โดยใช้กับแบบจำลอง สร้างระบบที่ติดต่อสื่อสารระหว่างระบบ GPS กับระบบควบคุมการเคลื่อนที่ 4

ขอบเขตของโครงการ ระบบควบคุมจะใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ในการสั่งการการทำงานของระบบเคลื่อนที่ทั้งหมด โปรแกรมที่ใช้สำหรับระบบควบคุมการเคลื่อนที่จะใช้ได้กับระบบที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับแบบจำลองที่สร้างขึ้น 5

ส่วนของฮาร์ดแวร์ที่เพิ่มเติมเข้ามา เพิ่มไอซี H-bridge driver 2 ตัว(เบอร์ TA7291S) - ควบคุมทิศทางการหมุน - ควบคุมความเร็ว 6

ส่วนของฮาร์ดแวร์ที่เพิ่มเติมเข้ามา(ต่อ) 7

ส่วนของฮาร์ดแวร์ที่เพิ่มเติมเข้ามา(ต่อ) 8

ส่วนของฮาร์ดแวร์ที่เพิ่มเติมเข้ามา(ต่อ) พัฒนาแกนหมุนหลักให้หมุนได้ในองศามากขึ้น ต่อฺ H-bridge driver 2 ตัว เข้าไปในวงจร 9

รูปแสดงการทำงานของแบบจำลอง 10

รูปแสดงการทำงานของแบบจำลอง(ต่อ) 11

รูปแสดงการทำงานของแบบจำลอง(ต่อ) 12

รูปแสดงการทำงานของแบบจำลอง(ต่อ) 13

ปัญหาที่พบ Port A บิตที่ 4 – 5 สามารถใช้เป็นอินพุทได้อย่างเดียว ทำให้ไม่สามารถต่อวงจรตามแบบที่ออกแบบไว้ตั้งแต่แรกได้ โครงสร้างที่ใช้จำลองการทำงานของ UAV ไม่ค่อยแข็งแรง ทำให้มีปัญหาเรื่องความสมดุล 14

แนวทางการแก้ไข ทำการเปลี่ยนหน้าที่ของ Port A บางพอร์ต โดยการตัดวงจร External oscillator ออก แต่ก็ทำให้พบปัญหาใหม่ สลับหน้าที่การทำงานระหว่าง Port A และ Port B เฉพาะในบิตที่มีปัญหา โครงสร้างที่ไม่แข็งแรงและไม่สมดุล เนื่องจากเป็นตัวต้นแบบจึงต้องเสริมความแข็งแรงเฉพาะจุดเพื่อเพิ่มความสมดุล 15

สิ่งที่จะดำเนินงานต่อไป เขียนโปรแกรมในส่วนที่ใช้ติดต่อกับ GPS นำวงจรลงแผ่น PCB 16

สรุป 17

Q & A 18