อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ. ดร. กิตติ์ เธียรธโนปจัย อ. วาธิส ลีลาภัทร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารจัดการระบบเครือข่าย (Network management system)
Advertisements

ICT & LEARN.
เทคโนโลยีฐานข้อมูลสำนักงาน
แขนกลในงานอุตสาหกรรม Industrial Robotic Arm
Wireless และการติดตั้ง
เพื่อเพิ่มคุณภาพของการให้บริการ Enhance Service Quality
เครื่องพันขดลวด Coil Wiering Machine EE โดย นายวรวิทย์ เหล่าพิเชฐกุล นายมาโนชย์ ทองขาว อาจารย์ที่ปรึกษา.
Low-speed UAV Flight Control Phase II
ZigBee Data Analysis Using Vector Signal Analyzer
General Purpose Prepaid Payment System COE ระบบชำระค่าบริการ ด้วยบัตรเงินสด ผู้จัดทำ โครงการ นายธนิด นะทะศิริ รหัส นายพัฒนพงศ์ ศรีทวีกาศ.
การพัฒนาระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ สำหรับมหาวิทยาลัยขอนแก่น
Wireless Sensor Network in Industrial Application COE
Low-speed UAV Flight Control Phase II
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย wireless electronic voter
Low-Speed UAV Flight Control System
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย wireless electronic voter
Wireless Sensor Network in Industrial Application
อุปกรณ์วัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบไร้สาย Wireless Electrocardiogram
COE : ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ Smart Bus Stop
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
COE : ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ Smart Bus Stop
โครงสร้างพื้นฐานสำหรับโทรมาตรเอนกประสงค์
นางสาวกิติยา จันทรุกขา นางสาวอรุณโรจน์ ชูสกุล
ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ COE Smart Bus Stop ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ COE Smart Bus Stop หลักการและเหตุผล หลักการและเหตุผล เทคโนโลยี Zigbee เป็นการสื่อสาร.
COE : ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ Smart Bus Stop
นายเจษฎา ช้างสีสังข์ นายกรกฏ สุภา COE อาจารย์ที่ปรึกษาดร. กิตติ์ เธียรธโนปจัย อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน 1 ดร. นว ภัค เอื้ออนันต์
ระบบเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สายในโรงงานอุตสาหกรรม
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
รายงานความก้าวหน้าโครงการ Wireless Sensor Network for Smart Home
Chapter 2 Switching.
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น
การวางแผนและการดำเนินงาน
Personal Area Network (PAN)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
โปรโตคอลของระบบเครือข่าย INTERNET และ Wireless LAN
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
OSI MODEL.
จัดทำโดย จัดทำโดย นางสาวชุติมา ก้องศิริวงศ์ รหัส นางสาวฏรินทร คงมณี รหัส
การจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
CSC431 Computer Network System
CPE 491 Proposal (สอบเสนอหัวข้อเพื่อทำ Project)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
โดย อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
เรื่องการสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2) นก. (Computer Network System) โดย อ.สมบูรณ์ ภู่พงศกร Chapter 1 Introduction.
ระบบ RFID บนทางด่วน RFID systems on the highway
เครือข่ายแลนไร้สาย wireless LANs
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
NETWORK.
ระบบสื่อสารข้อมูลไร้สาย
BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed เครือข่ายระยะไกล Wide Area.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สิ่งที่สำคัญในระบบปฏิบัติการของเราในวันนี้คงหนีไม่พ้นในเรื่องของ เครือข่าย หรือ Network network คืออะไร เครือข่ายมีไว้เพื่อสื่อ สารกันระหว่างคอมพิวเตอร์
Network Computer Made by Godsaider. สถาปัตยกรรมเครือข่าย มนุษย์ติดต่อสื่อสารกันได้นั้นเพราะใช้ภาษา เดียวกันในการติดต่อพูดคุยแต่ถ้าพูดกันคนละภาษาก็จะ ทำให้การติดต่อสื่อสารไม่ได้ประสิทธิภาพหรือไม่เข้าใจ.
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
OSI Model Open System Interconnection. Open Systems Interconnection (OSI) จัดตั้งและกำหนดโดย องค์การกำหนดมาตรฐานสากล หรือ ISO ( International Standards.
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แบบ Star จะเป็นลักษณะของการต่อ เครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทาง ของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน.
แบบดาว เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้น ใน โทโปโลยี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Wireless Sensor Network in Industrial Applications ระบบเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สาย ในโรงงานอุตสาหกรรม

อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ. ดร. กิตติ์ เธียรธโนปจัย อ. วาธิส ลีลาภัทร อาจารย์ที่ปรึกษา อ. ดร. ชัชชัย คุณบัว อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ. ดร. กิตติ์ เธียรธโนปจัย อ. วาธิส ลีลาภัทร นักศึกษา 1.น.ส.ฐิติมา แสงพระจันทร์ 473040575-8 2.น.ส.ดุษฎี ทวีวรรณบูลย์ 473040579-0

สิ่งที่จะนำเสนอ ที่มาของโครงการ วัตถุประสงค์ของโครงการ ขอบเขตของโครงการ ขั้นตอนการดำเนินงาน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ รายละเอียดที่ได้ไปศึกษา ค้นคว้า

ที่มาของโครงการ เนื่องจากโรงงานอุตสาหกรรมจำเป็นต้องวัดค่าต่างๆ ซึ่งต้องการความถูกต้องและความน่าเชื่อถือ ซึ่งทำได้ยากในโรงงานที่ไม่มีการเตรีอมพร้อมในการเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ ดังนั้นโครงงานนี้จึงมีแนวคิดนำอุปกรณ์เครือข่ายไร้สายมาใช้ โดยการใช้อุปกรณ์ ZigBee ทำให้สะดวกในการติดตั้งและบำรุงรักษา และยังสามารถสร้างเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ได้

วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อพัฒนาระบบเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สาย 2. ทดสอบการใช้การของอุปกรณ์ ZigBee ในการสร้างเครือข่าย 3. นำระบบเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สายไปประยุกต์ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม

ขอบเขตของโครงการ 1. สามารถเชื่อมต่อเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สายที่มีจำนวนมากกว่า 5 nodes 2. สามารถเรียกข้อมูล จากจุดต่างๆ และบันทึกค่า ณ เวลาต่างๆ เพื่อนำไปประเมินผลได้

ตาราง ขั้นตอนการดำเนินงาน

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. สามารถพัฒนาระบบเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สาย ให้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ในโทโปโลยีต่างๆ 2. สามารถนำระบบเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สายไปประยุกต์ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมได้

Wireless Sensor Network - การได้รับข้อมูลข่าวสาร - Routing table

ZigBee - มีขนาดเล็ก - ใช้กำลังไฟฟ้าต่ำ - Based on มาตรฐาน IEEE 802.15.4 - มีขนาดเล็ก - ใช้กำลังไฟฟ้าต่ำ - รองรับ- Build-in Protocol Stack ส่งสัญญาณได้ระยะไกล สามารถเชื่อมต่อเป็น Network ขนาดใหญ่ได้ (65,536 nodes) - สามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอกได้ โดยใช้การเชื่อมต่อแบบ Serial RS232

มาตรฐาน IEEE 802.15.4 คุณสมบัติ - รองรับการรับส่งข้อมูลเทคโนโลยีเครือข่ายความเร็วต่ำ - ใช้กำลังไฟฟ้าน้อย - อุปกรณ์ราคาถูก - สามารถประยุกต์ใช้กับอุปกรณ์พื้นฐานที่หลากหลายใน ชีวิตประจำวัน - ในชั้น Network สามารถรองรับได้ 3 แบบ คือ star, mesh และ cluster-tree

Zigbee Module - X-bee-pro by MaxStream - ISM 2.4 GHz operating frequency - 60 mW (18 dBm), 100 mW EIRP power output (up to 1 mile range) - Built-in AODV protocol

Application framework ZigBee Applications User ZigBee application profiles Application Profiles Application framework Network and security layers ZigBee- Complaint platform Media access control IEEE 802.15.4 Layer Physical layer Silicon ZigBee stack Application

วงจรสมบูรณ์ภาคส่ง 32 °

วงจรสมบูรณ์ภาครับ 32 °

สรุป สิ่งที่ทำไปแล้ว ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโครงการ รวบรวมข้อมูล ออกแบบวงจร สิ่งที่จะทำ ทดสอบการทำงานของ ZigBee

. . . Q & A . . .

Back up Slide

AODV Protocol - AODV เป็นโปรโตคอลที่เป็น method ของ routing message ระหว่าง mobile computer หรือ node ในการส่ง message ผ่านไปทาง neighbor เพื่อไปยัง node ที่ต้นทางไม่สามารถติดต่อได้โดยตรง - ระหว่างทางที่ message ถูกส่งผ่านไป AODV ก็จะทำการค้นหาเส้นทาง โดยมั่นใจได้ว่าจะไม่เกิดการ loop และได้เส้นทางที่สั้นที่สุด - AODV สามารถควบคุมการเปลี่ยนแปลงของเส้นทางและสามารถสร้างใหม่หากเกิดข้อผิดพลาดได้อีกด้วย

สรุปคุณสมบัติของ AODV - หาเฉพาะเส้นทางที่ต้องการเท่านั้น - ใช้ Sequence Number ในการเก็บข้อมูลที่ถูกต้องที่สุด - เก็บข้อมูลเฉพาะ next hop ของ route แทนการเก็บข้อมูลทั้งหมด - ใช้ periodic HELLO Message ในการ track Neighbor

AODV Protocol (cont.) ภาพแสดงการตั้งขอบเขตให้กับnodeต่างๆใน wireless network

การทำงานของ AODV Protocol

การทำงานของ AODV Protocol (cont.)