เศรษฐศาสตร์แรงงาน ศ. 471 สหภาพแรงงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
การพัฒนาเครือข่ายสถาบันเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟ Coffee Cooperative Networks
รหัส หลักการตลาด.
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 ประยุกต์ทฤษฎีอุปทานแรงงาน
รองศาสตราจารย์ดร. ภาวดี ทองอุไทย กรกฎาคม  แรงงานเข้าสู่ตลาดด้วยระดับการศึกษาและ ทักษะต่างกัน  หลังจากทำงาน ยังได้ฝึกอบรมเพิ่ม (on-the- job training)
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
วิกฤตเศรษฐกิจ และ ผลกระทบต่อแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471)
โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
BA2301 หลักการตลาด การค้าปลีกและการค้าส่ง
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ระบบเศรษฐกิจ.
ตัวอย่าง: ตลาดปัจจัยการผลิตที่มีผู้ซื้อรายเดียว
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง
กลไกราคากับผู้บริโภค
โครงการพัฒนาดัชนีการเกษียณอายุข้าราชการและพนักงานของรัฐ: รายงานเบื้องต้น โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์ ศูนย์จริยธรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics
ชื่อ นางสาว สุนิสา แก้วจารนัย
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
การค้ามนุษย์ การค้ามนุษย์ สภาพปัญหา ผลกระทบ แนวทางการแก้ไขปัญหา.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
1 ความเปลี่ยนแปลง ในภาคการเงินและในการ อภิบาลบริษัท ดร. อัมมาร สยามวาลา 9 ธันวาคม 2549.
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
และผลประโยชน์เกื้อกูล
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
นางสาววิไลวรรณ แซ่เตีย รองประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
บทที่ 4 การค้าส่ง.
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
บทที่ 16 ครอบครัว.
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เศรษฐศาสตร์แรงงาน ศ. 471 สหภาพแรงงาน รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย กันยายน 2552

หัวข้อ สหภาพแรงงานและการกำหนดค่าจ้าง เพิ่มอุปสงค์แรงงาน ลดอุปทานแรงงาน ต่อรองให้ได้ค่าจ้างสูงกว่าระดับดุลยภาพ เป้าหมายของสหภาพแรงงาน

เพิ่มอุปสงค์แรงงาน สามารถทำให้ทั้งค่าจ้าง และ ปริมาณการจ้างงานเพิ่มขึ้น เพิ่มอุปสงค์สินค้า โฆษณาสินค้า ล็อบบี้รัฐบาล ให้รัฐซื้อมากขึ้น ให้ออกกฎหมายที่จะกระตุ้นภาคเอกชนให้ซื้อมากขึ้น เพิ่มราคาสินค้าที่ใช้ทดแทนกันได้ ลดราคาสินค้าที่ใช้ร่วมกับสินค้าที่สมาชิกสหภาพผลิต

เพิ่มประสิทธิภาพแรงงานโดย มีส่วนร่วมในการดูแลผลิตภาพ / ในการตัดสินใจ เป้าหมายคือ เน้นความร่วมมือภายในหน่วยผลิต ทำงานเป็นทีม แรงจูงใจด้านกำไร เปลี่ยนแปลงราคาของปัจจัยที่เกี่ยวข้อง โดยอาศัยการล็อบบี้รัฐบาล เพิ่มราคาของปัจจัยที่ใช้ทดแทน ลดราคาปัจจัยที่ใช้ร่วมกัน เพิ่มจำนวนนายจ้าง ล็อบบี้รัฐบาลให้ส่งเสริมการลงทุน

ลดอุปทานแรงงาน วิธีต่างๆที่จะลดอุปทานแรงงาน ลดจำนวนผู้เสนอขายแรงงาน จำกัดการย้ายถิ่นจากต่างประเทศ กฎหมายแรงงานเด็ก กำหนดอายุเกษียณ ลดเวลาทำงาน จดทะเบียน เลือกปฏิบัติ (เพศ เชื้อชาติ ฯลฯ) เปลี่ยนแปลงรายได้อื่นๆ (ที่ไม่ใช่ค่าจ้าง)

ต่อรองให้ได้ค่าจ้างสูงกว่าระดับดุลยภาพ ถ้ามีสมาชิกจำนวนมาก อาจ “ขู่” นายจ้างว่าจะหยุดงาน ในตลาดแบบนี้ จะมีคนงาน รองาน อยู่จำนวนมาก สหภาพจะพยายามให้สัญญาจ้างงาน มีเรื่องของ union security อยู่ด้วย สหภาพจะพยายามลดความยืดหยุ่นของอุปสงค์แรงงาน ลดการทดแทนระหว่างทุนกับแรงงาน ลดการทดแทนระหว่างแรงงานมีฝีมือ กับ ไร้ฝีมือ