เศรษฐศาสตร์แรงงาน ศ. 471 สหภาพแรงงาน รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย กันยายน 2552
หัวข้อ สหภาพแรงงานและการกำหนดค่าจ้าง เพิ่มอุปสงค์แรงงาน ลดอุปทานแรงงาน ต่อรองให้ได้ค่าจ้างสูงกว่าระดับดุลยภาพ เป้าหมายของสหภาพแรงงาน
เพิ่มอุปสงค์แรงงาน สามารถทำให้ทั้งค่าจ้าง และ ปริมาณการจ้างงานเพิ่มขึ้น เพิ่มอุปสงค์สินค้า โฆษณาสินค้า ล็อบบี้รัฐบาล ให้รัฐซื้อมากขึ้น ให้ออกกฎหมายที่จะกระตุ้นภาคเอกชนให้ซื้อมากขึ้น เพิ่มราคาสินค้าที่ใช้ทดแทนกันได้ ลดราคาสินค้าที่ใช้ร่วมกับสินค้าที่สมาชิกสหภาพผลิต
เพิ่มประสิทธิภาพแรงงานโดย มีส่วนร่วมในการดูแลผลิตภาพ / ในการตัดสินใจ เป้าหมายคือ เน้นความร่วมมือภายในหน่วยผลิต ทำงานเป็นทีม แรงจูงใจด้านกำไร เปลี่ยนแปลงราคาของปัจจัยที่เกี่ยวข้อง โดยอาศัยการล็อบบี้รัฐบาล เพิ่มราคาของปัจจัยที่ใช้ทดแทน ลดราคาปัจจัยที่ใช้ร่วมกัน เพิ่มจำนวนนายจ้าง ล็อบบี้รัฐบาลให้ส่งเสริมการลงทุน
ลดอุปทานแรงงาน วิธีต่างๆที่จะลดอุปทานแรงงาน ลดจำนวนผู้เสนอขายแรงงาน จำกัดการย้ายถิ่นจากต่างประเทศ กฎหมายแรงงานเด็ก กำหนดอายุเกษียณ ลดเวลาทำงาน จดทะเบียน เลือกปฏิบัติ (เพศ เชื้อชาติ ฯลฯ) เปลี่ยนแปลงรายได้อื่นๆ (ที่ไม่ใช่ค่าจ้าง)
ต่อรองให้ได้ค่าจ้างสูงกว่าระดับดุลยภาพ ถ้ามีสมาชิกจำนวนมาก อาจ “ขู่” นายจ้างว่าจะหยุดงาน ในตลาดแบบนี้ จะมีคนงาน รองาน อยู่จำนวนมาก สหภาพจะพยายามให้สัญญาจ้างงาน มีเรื่องของ union security อยู่ด้วย สหภาพจะพยายามลดความยืดหยุ่นของอุปสงค์แรงงาน ลดการทดแทนระหว่างทุนกับแรงงาน ลดการทดแทนระหว่างแรงงานมีฝีมือ กับ ไร้ฝีมือ