การจัดระเบียบสังคม Social Organization

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ICT & LEARN.
Advertisements

บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
4. สถาบันการเมืองการปกครอง
การกระทำทางสังคม (Social action)
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
การบริหารความสัมพันธ์และการฟื้นฟูความพอใจ จากบริการที่ผิดพลาด
ผู้นำ การจูงใจ การจูงใจคืออะไร
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
Priciples of Marketing
ความหมายของเครือข่าย
การจัดระเบียบทางสังคม
เนื้อหา (กลางภาค) พฤติกรรมมนุษย์ การขัดเกลาทางสังคม
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
การกำหนดสมรรถนะ (COMPETENY)
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
โครงการวิจัยเรื่องความอยู่ดีมีสุขของประชากร ในประเทศกำลังพัฒนา
ประเด็นด้านจริยธรรมในการใช้ข้อมูล ข่าวสาร
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
Social Organization เพื่อควบคุมแบบแผนแห่งพฤติกรรมของมนุษย์
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 8.
“การพัฒนากลุ่มเกษตรกรที่ร่วมโครงการฯ ให้เกิดความเข้มแข็ง”
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
การเฝ้าระวังกับนโยบายสังคม
กลุ่มในองค์การ Group in Organization
มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ อาจารย์จิตรลดา วัฒนาพรรณกิตติ
จิตวิทยากับองค์กรธุรกิจอุตสาหกรรม
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรมธุรกิจ
Chapter 10 จรรยาบรรณของนักธุรกิจ
(Organizational Behaviors)
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
พฤติกรรม / การกระทำที่ สะท้อนความมีคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ดร. สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก. พ. สำนักงาน ก. พ.
สังคม โครงสร้างทางสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มคน จำนวนหนึ่ง ซึ่งมีแบบแผนในการปฏิบัติร่วมกัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน กลุ่มคน หมายถึง.
ข้อคิดการใช้ชีวิต บรู๊ซลี.
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
วิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ สัปดาห์ที่ 1
สถาบันการเมืองการปกครอง
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
กิจกรรมละลายพฤติกรรม
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสว่าง โรงเรียนวังไกลกังวล
บทที่ 4 หลักและวิธีการพัฒนาชุมชน
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
เกณฑ์การตัดสินทางจริยธรรม
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ข้อคิดการใช้ชีวิต บรู๊ซลี.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดระเบียบสังคม Social Organization บทที่ 3 การจัดระเบียบสังคม Social Organization

การจัดระเบียบสังคม หมายถึง การปฏิสัมพันธ์กันอย่างมีระบบแบบแผนของสมาชิก เพื่อให้สมาชิกอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข และทำงานร่วมกันเพื่อตอบสนองความต้องการพื้นฐานของสังคมได้ ทั้งนี้เพราะการอยู่ร่วมกันในสังคมซึ่งมีสมาชิกเป็นจำนวนมาก จำเป็นต้องมีการจัดระบบเพื่อช่วยให้มนุษย์สามารถแบ่งงานกันทำและบรรลุเป้าหมายร่วมกัน ซึ่งจะทำให้สมาชิกอยู่ร่วมกันได้อย่างปกติสุข และทำให้มนุษย์อยู่รอดได้

องค์ประกอบของการจัดระเบียบทางสังคม 1. บรรทัดฐาน 2. สถานภาพ 3. บทบาท

1. บรรทัดฐาน หมายถึง กรอบในการประพฤติปฏิบัติที่สังคมกำหนดให้สมาชิกปฏิบัติร่วมกัน ประกอบไปด้วย วิถีประชา จารีต กฎหมาย

1. วิถีประชา จะเป็นแนวปฏิบัติทั่ว ๆ ไป ในชีวิตประจำวัน ที่ช่วยให้การดำเนินชีวิตของเราราบรื่น

2. จารีตประเพณี แนวปฏิบัติที่สำคัญและต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัด

3. กฎหมาย กฎระเบียบที่มีการเขียนขึ้นเป็นตัวอักษร และมีการบังคับใช้ตามตัวบทนั้น ๆ

2. สถานภาพ 1. สถานภาพที่ได้มาโดยอัตโนมัติ (ascribed status) หมายถึง ตำแหน่งของบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องกับสิทธิและหน้าที่ในฐานะที่เป็นสมาชิกของสังคม 1. สถานภาพที่ได้มาโดยอัตโนมัติ (ascribed status) 2. สถานภาพที่ได้มาด้วยความสามารถ (achieved status)

ความสำคัญของสถานภาพ สัมพันธ์กันเป็นส่วนตัวต่อกัน 1. ช่วยให้บุคคลติดต่อกันได้ โดยไม่จำเป็นต้องมีความ สัมพันธ์กันเป็นส่วนตัวต่อกัน 2. ช่วยให้เราสามารถตัดสินได้ว่า ควร หรือ ไม่ควร ปฏิบัติอย่างไรต่อบุคคลแต่ละคน ในการติดต่อกับบุคคลอื่น 3. ช่วยให้เรารู้ว่าจะคาดหวังอะไรได้จากผู้อื่น หรือผู้อื่นควรคาดหวังอะไรจากเราได้แค่ไหน

ลักษณะของสถานภาพ 1. สถานภาพเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นก่อนตัวเรา 2. สถานภาพเป็นสิ่งเชื่อมโยงกัน 3. บุคคลจะมีสถานภาพหลัก (key status) เพียงสถานภาพเดียว 4. สถานภาพมีระดับสูงต่ำ (rank) 5. สถานภาพที่บุคคลดำรงอยู่อาจมีความขัดแย้งกันได้ (status inconsistency) 6. สถานภาพอาจสังเกตได้ด้วยสัญลักษณ์ (symbol)

3. บทบาท หมายถึง กลุ่มบรรทัดฐานของสถานภาพหนึ่ง ๆ หรือกล่าวได้อีกความหมายหนึ่ง คือ การกระทำตามความคาดหวังของสังคมที่มีต่อสถานภาพของเรา นอกจากนี้บทบาทยังเป็นการกระทำตามสิทธิ หน้าที่ ตามสถานภาพที่เราสวมอยู่

ความขัดแย้งในบทบาท 1. ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นกับผู้คาดหวัง (intrasender conflicts) 2. บุคคลต่างกัน ความคาดหวังต่างกันด้วย ( intersender conflicts) 3. บทบาทด้านต่าง ๆ ที่บุคคลสวมอยู่ ขัดแย้งกัน ( interrole conflicts) 4. บุคคลไม่มีความพอใจในบทบาทที่สวมอยู่ (person-role conflicts)