เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์ สาขาการประเมินและการวิจัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ส่วนประกอบของรายงานการวิจัย 1. ส่วนหน้า (preliminary) 2 ส่วนประกอบของรายงานการวิจัย 1. ส่วนหน้า (preliminary) 2. ส่วนเนื้อหา (body of report) 3. ส่วนอ้างอิง (reference section) หรือส่วนท้าย
1. ส่วนหน้า (preliminary) - ปกหน้า ปกใน - บทคัดย่อ - คำนำ / กิตติกรรมประกาศ - สารบัญ เรื่อง/ตาราง/ภาพ/แผนภูมิ
2. ส่วนเนื้อหา (body of report) มี 5 บท บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
บทที่ 1 บทนำ - ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา - วัตถุประสงค์ของการวิจัย - ขอบเขตของการวิจัย - สมมติฐานการวิจัย - ข้อตกลงเบื้องต้น - นิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในงานวิจัย - ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง - ทฤษฎีแนวคิด หลักการที่เกี่ยวข้อง - เนื้อหา สาระ ข้อมูล สารสนเทศ - งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ตามลำดับเนื้อหา เรื่องราวเหตุการณ์ มีการสรุปท้ายทุกเรื่องที่นำมาอ้าง
บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย - ประเภทการวิจัย และ แบบการวิจัย - ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง - การสร้างหรือพัฒนานวัตกรรม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือวิจัย / เก็บรวบรวมข้อมูล - วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล - สถิติที่ใช้ในการวิจัย ต้องมีความสอดคล้องกัน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 1. การนำเสนอผลการวิจัย ข้อค้นพบในรูปของ - คำบรรยาย - กึ่งตาราง กึ่งบรรยาย - แผนภูมิ แผนภาพ 2. การแปลความหมาย ภายใต้ขอบเขตของข้อมูลสถิติที่กำหนด ในบทที่ 3
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ - สรุปผลการวิจัย เพื่อให้ผู้อ่านทำความเข้าใจได้รวดเร็ว โดยย่อผลจากบทที่ 4 โดยเกริ่นนำวัตถุประสงค์การวิจัย วิธีดำเนินการวิจัย และและสรุปผลการวิจัย (ที่ตอบวัตถุประสงค์ทุกข้อ)
อภิปรายผล - เปรียบเทียบผลการวิจัย กับ เอกสารในบทที่ 2 ว่ามีความสอดคล้อง หรือ แตกต่างจากทฤษฎี แนวคิด หลักการ งานวิจัย หรือสมมติฐานอย่างไร - ผู้วิจัยแสดงความคิดเห็นของตนเองที่มีต่อผลการวิจัย
ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะการนำผลการวิจัยไปใช้บอกข้อจำกัด หรือสิ่งที่ต้องปฏิบัติ หาก จะนำผลงานวิจัยไปใช้ ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป แนะแนวทางการวิจัยในประเด็นอื่น ๆ ที่ผู้วิจัยเห็นว่าควรดำเนินการ และยังไม่มีผู้ใดวิจัยมาก่อน
3. ส่วนอ้างอิง (reference section) หรือส่วนท้าย - บรรณานุกรม - ภาคผนวก - รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ - ตัวอย่างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล - ข้อมูลรายละเอียดที่ต้องการนำเสนอ - ประวัติผู้วิจัย
ประวัติย่อของผู้วิจัย ชื่อ ตำแหน่ง ที่ทำงาน ที่อยู่ที่ติดต่อได้ e-mail, เบอร์โทรศัพท์
คุณลักษณะที่ดี - คุณค่าภายใน เนื้อหาภายในมีความสอดคล้องกันทุกหัวข้อ สมเหตุ สมผล - คุณค่าภายนอก ผลการวิจัยสอดคล้องกับสภาพการณ์ปัจจุบัน มีคุณค่า เป็นประโยชน์ต่อตน ต่อวงการวิชาชีพ และต่อสังคม
-มีคุณค่า ประโยชน์และความสำคัญของงานวิจัย -มีคุณภาพ การทำวิจัยอย่างถูกต้องเหมาะสมตามหลักการ ระเบียบวิธีวิจัย