การดำเนินชีวิตอย่างมีอุดมคติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
Advertisements

แนวคิดทางปรัชญาพื้นฐาน
การลดความวิตกกังวล.
ทักษะการทำงานร่วมกันเป็นทีม
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
การสร้างวินัยเชิงบวก
ชีวิตคืออะไร ? ชีวิตตามสภาพของมันเอง ขันธ์ 5 เป็นส่วนประกอบของชีวิต
จิตพิสัยบริการ ฐานสู่ความเป็นเลิศ (Service Mind)
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
ใช้สติอย่างสร้างสรรค์ ชีวิตทุกวันจะปลอดภัย
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
กระบวนการฝึกวิธีคิด แบบโยนิโสมนสิการ
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
Happy 8 8 Boxes of Happiness
การใช้ปัญญา.
บทที่ บทนำ....
การพัฒนาบุคลิกภาพภายใน
บุคลิก 9 ประการ ที่ควรพัฒนา
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
การพัฒนานักเรียนโดยครูและโรงเรียน
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
สุขภาพจิต และการปรับตัว
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค
โรงเรียนละ 2 เล่ม.
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
รู้และเข้าใจเรื่องของชีวิต
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
Ombudsman Talk.
การเพิ่มผลผลิต Productivity
จรรยาบรรณครู จรรยาบรรณข้อที่ 1 ครูต้องรักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือส่งเสริมให้ กำลังใจใน การศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า จรรยาบรรณข้อที่
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
บุคลิกภาพกับการเป็นผู้นำที่มีจิตสำนึก
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ จัดทำโดย นาย ภัทรพงศ์ สินเติม
พลัง อึด ฮึด สู้ อึด...ทนต่อแรงกดดัน วิธีการ : คิดเชิงบวก ควบคุม อารมณ์ ลดความเครียด คลายอารมณ์ ฮึด...มีกำลังใจวิธีการ : self talk , ขอจากคนอื่น , แรงศรัทธา.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
กิจวัตรและกิจกรรมในหนึ่งวันของเด็กๆ
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
เนื้อหาพิเศษ : การตั้งเป้าหมาย
อ่านอะไรและอ่านอย่างไรเพื่อพัฒนาตนในด้านความรู้
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
บทอ่านจากจดหมายนักบุญเปาโลถึงชาวโครินทร์ฉบับที่ 1
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
มรรค : ธรรมที่ควรเจริญ
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
BEST PRATICES การจัดการเรียนรู้ระดับปฐมวัยที่ดี “ อนุบาลน้อย
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การบริหารจิต ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม
ความเป็นครู.
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ผศ. ดร. อุไร หัถกิจ คณะพยาบาลศาสตร์ มอ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินชีวิตอย่างมีอุดมคติ อุดมคติของชีวิต คือ จุดหมายสูงสุดที่มนุษย์ปรารถนา ชนิดของอุดมคติในชีวิตของนักปรัชญาบางสำนัก อัตนิยม : ความสุขของฉันคนเดียว ฮอปส์ เชื่อว่าการกระทำทุกการกระทำ ของมนุษย์นั้นเอง

2. โสฟิสต์ : ทำตามใจตัวเองนั่นคือความสุข 2. โสฟิสต์ : ทำตามใจตัวเองนั่นคือความสุข คนไทยมีคติอยู่ว่า... “ทำได้ตามใจคือไทยแท้” จารวาก : ความสุขทางโลก วัตถุนิยม สุขในปัจจุบัน

4.มิลล์ : ความสุขทางใจและความสุขของ คนจำนวนมากที่สุด 4.มิลล์ : ความสุขทางใจและความสุขของ คนจำนวนมากที่สุด 5. โสเครตีส : ความสุขทางปัญญา สิ่งที่ดีที่สุดของมนุษย์ควรแสวงหาคือปัญญา

6. เอปิคิวรัส : ความสุขอยู่ที่การประมาณตน มีปัจจัย สี ชีวิตที่ไม่หลงมัวเมาไปกับความสุขทางโลก แต่เป็นชีวิตที่ประมาณตน มีชีวิตในทางสายกลาง ละเว้นสิ่งที่ไม่จำเป็น

7. ซินนิค : ความสุขอยู่ที่ความไม่ต้องการอะไร เราควรอยู่อย่างสุนัข หิวก็กากิน อยากนอนที่ไหนก็นอน เป็นการใช้ชีวิตอยู่ไปวันๆ อย่างไม่มีแกนสารอะไร

8. สโตอิค : ความสุขอยู่ที่ความพอใจในสิ่งที่มี ความสุขที่แท้จริงคือความพอใจในสิ่งที่อยู่ คุณธรรมสำคัญที่มนุษย์ควรยึดถือคือความอดทน อดกลั้น และความยุติธรรม ให้รัก มีเมตตา ช่วยผู้อื่น

9. เอ็กซิสเท็นเชียลลิสม์ : เสรีภาพคืออุดมคติของชีวิต การกลับมาสู่ตนเอง คือการตระหนักถึงเสรีภาพอันเป็นธาตุแท้ของมนุษย์ ฌอง ปอล ซาร์ตร์

10. มนุษย์นิยม : ความสุข คือการสร้างความดุลให้ชีวิต

สัจจนิยม : วัตถุ + จิต ความสุข มี 2 อย่าง 1. กายิกสุข สุขทางกาย (วัตถุ) 2. เจตสิกสุข สุขทางใจ (จิต) แต่ จิต ย่อมสำคัญกว่า

ความสุขของคฤหัสถ์มี 4 อย่าง คือ ความสุขของคฤหัสถ์มี 4 อย่าง คือ สุขเกิจากการมีทรัพย์ (หัตถิสุข) สุขเกิดจาการใช้จ่ายทรัพย์ (โภคสุข) สุขเกิดจากการไม่เป็นหนี สุขเกิดจากการทำงานที่ไม่มีโทษ

แนวทางการพัฒนาตนเองเพื่อความสุขในชีวิต ต้องมีเป้าหมายและแนวทางการดำเนินชีวิตที่ชัดเจน ต้องศึกษาแนวทางการดำเนินชีวิตไปสู่เป้าหมาย โดยการศึกษาหลายๆแนวทาง เพื่อเลือก แนวทางลัดตรงเป้าหมาย

3. ต้องรู้จักองค์ประกอบของชีวิต วิธีการดำเนินชีวิต และสภาพชีวิตของตน และฝึกปรือให้เกิดทักษะใน - ต้องรู้ว่าชีวิตประกอบด้วยกายและจิต - ต้องรู้ว่าชีวิตต้องการการพักผ่อน -ต้องรู้วิธีการแก้ไขปัญหาชีวิต -ต้องมีหลักในการตรวจสอบความเจริญกว้าหน้า -ต้องตรวจสอบสุขภาพกายและสุขภาพจิต -ต้องมีไม่ขาดสติ มีปัญญา -ต้องรู้จักหยุด รู้จักพอเมื่อถึงเป้าหมาย ฯลฯ

ชีวิตที่น่าพึงปรารถนาสำหรับทุกคน เช่น ชีวิตที่น่าพึงปรารถนาสำหรับทุกคน เช่น การมีสุขภาพดี ร่างกายแข็งแรง ไม่เจ็บป่วย การมีความรู้ดี การมีการงานดี การมีความประพฤติดี การมีจิตใจดี การมีสิ่งแวดล้อมที่ดี

เทคนิคการพัฒนาชีวิตแบบยั่งยืน พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) 1. ปลุกจิตสำนึกในการเรียนรู้และการฝึกฝนพัฒนาตนเอง (ใส่รู้สู่สิ่งอยาก)

2. มีศีลและปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของสังคม 3. ฝึกฝนเพิ่มความมีอิสระจากวัตถุภายนอก ฝึกการบริจาค การให้ การเสียสละ การสงเคราะห์ รู้เท่าทันความรู้สึกและแรงจูงใจภายในของตน ฝึกฝนพัฒนาให้เป็นแรงจูงใจใฝ่สร้างสรรค์ 6. ปรุงแต่งจิตของตนให้มีกำลัง มีความสุข และคงวามดีงามด้วยสมาธิ

7. ฝึกฝนพัฒนาปัญญาในระดับสูงให้รู้เข้าใจความจริงของโลกและชีวิต เพื่อความเป็นอิสระเหนือความสุข ความทุกข์ทั้งปวง

ตรวจสอบการพัฒนาชีวิตตนเอง สำรวจความสุขของตน เข้าใจความสุขของตนเอง และของผู้อื่น คือจุด เริ่มต้นของการพัฒนา 3. ตรวจสอบชีวิตโดยพิจารณาทุกด้าน

องค์ประกอบขอบความสุข 4 ประการ สันติ (สงบ ไม่วุ่นวาย) วิสุทธิ (สะอาด บริสุทธิ์ ไม่เศร้าหมอง) วิมุตติ (อิสระ) 4. ปัญญา (สว่าง รู้แจ้ง)