บทที่ 2 มาตรฐานการเขียนแบบ (The Convention of Drawing)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความหมายของโครงงาน.
Advertisements

โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
Chapter 2 : Character and Fonts
บทที่ 1 การเลือกใช้อุปกรณ์ เขียนแบบ (The Selection and Use of Instruments) อาจารย์พยุงศิลป์ เปศรี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
รายละเอียดของการทำ Logbook
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
Lecture 10 : Database Documentation
สิ่งพิมพ์ จัดทำเพื่อผู้อ่านเฉพาะกลุ่ม (ภายในหรือภายนอกองค์กร)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
องค์ประกอบ Graphic.
Seminar in computer Science
PHP LANGUAGE.
HTML (คืออะไร) ภาษา HTML (HyperText Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้คำสั่งที่เรียกว่า Tag มีทั้งเปิดและปิด เพื่อกำหนดบริเวณที่มีผลของคำสั่ง คำสั่งภาษา HTML.
โครงสร้าง ภาษา HTML.
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
ลักษณะพิเศษของ ภายใต้คำสั่ง <BODY>
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเขียนรายงานการทดลอง
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
ปฏิบัติการที่ 3 : การสร้างโฮมเพจอย่างง่าย
การวางแผนและการดำเนินงาน
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
โปรแกรม MS Powerpoint และเทคนิคการนำเสนอ
บทที่ 5 การแทรกรูปภาพ และอักษรประดิษฐ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์โครงสร้าง
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
คำแนะนำการจัดทำข้อเสนอโครงการ
ขั้นตอนที่ 1 ระบุปัญหาของนโยบายสาธารณะในชุมชนของท่าน
การวิเคราะห์การปฏิบัติงาน
การวิเคราะห์ขบวนการผลิต (Process Analysis)
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
มาตราส่วนในงานเขียนแบบ วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Mind Mapping.
ชื่อหัวข้อโครงงาน (ภาษาไทย) Project Title (English)
แนวคิดในการทำวิจัย.
ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
การเขียนแบบใช้งานเบื้องต้น(Working Drawing)
แนวคิดและศิลปะในการร่างหนังสือราชการ
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
BC305 การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
หลักการเขียนโครงการ.
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
CPE Project 1 บทที่ 2. ภาพรวม บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ ทฤษฎี (theory) = สมมติฐานที่ได้รับการตรวจสอบ และทดลองหลายครั้งหลายหนจนสามารถอธิบาย ข้อเท็จจริงสามารถคาดคะเนทำนายสิ่งที่เกี่ยวข้อง.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
16. การเขียนรายงานการวิจัย
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 มาตรฐานการเขียนแบบ (The Convention of Drawing) อาจารย์พยุงศิลป์ เปศรี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2.1 ขนาดของกระดาษเขียนแบบ ( Drawing Sizes)

2.2 หัวกระดาษ ( Title Blocks)

2.3 เส้นต่าง ๆ ( Lines)

2.4 การเขียนตัวอักษร ( Lettering) การเขียนตัวอักษรในงานเขียนแบบ มีทั้งวิธีที่ใช้ในการเขียน ( Lettering Set)และแบบที่เขียนด้วยมือ (Free Hand Lettering) - แบบ Written (Single-Stroke Letters ) - แบบ Drawn (Built – Up Letters)

2.4 การเขียนตัวอักษร ( Lettering) แบบ Written (Single-Stroke Letters )หรือบางครั้งเรียก Single-stroke หมายถึงการเขียนอักษรด้วยปากกาหรือดินสอ โดยทั่วไปมีการเขียนเส้นอักษร (stem ) เพียงครั้งเดียวโดยไม่เขียนซ้ำ นั่นคือ ความหนาของเส้นอักษร (stem ) เท่ากับความหนาของเส้นปากกาหรือดินสอที่ใช้เขียน - แบบ Written นิยมใช้ในงานเขียนแบบทั่วไป ทั้งแบบตัวใหญ่ (Capital ) สำหรับหัวข้อหรือคำอธิบายที่มีความสำคัญ ต้องการเน้นให้ชัดเจน และแบบตัวเล็ก(Lower Case ) สำหรับการเขียนบรรยาย คำอธิบายละเอียดต่าง ๆ

2.4 การเขียนตัวอักษร ( Lettering) แบบ Written (Single-Stroke Letters )หรือบางครั้งเรียก Single-stroke

2.4 การเขียนตัวอักษร ( Lettering) - อักษรแบบ Written

2.4 การเขียนตัวอักษร ( Lettering) - แบบ Drawn (Built – Up Letters)หมายถึงการเขียนอักษรแบบประดิษฐ์หรือสร้างอักษรที่มีการขีดเส้น (Stroke ) หลาย ๆ ครั้งในการเขียนอักษรแต่ละตัว โดยทั่วไปจะสร้างรูปร่าง (Outline ) ก่อน แล้วจึงระบายรายละเอียดภายใน ใช้ในงานเขียนแบบเพื่อเน้นข้อความที่สำคัญให้เห็นชัดเจน เช่น ชื่อโครงการ ชื่อเรื่อง หมายเลขของ plate เป็นต้น

2.4 การเขียนตัวอักษร ( Lettering) - ในการเขียนอักษรทั้งแบบ Written และ Drawn สิ่งที่ต้องคำนึงถึงอีกอย่างหนึ่งคือที่ว่าง (Space ) ที่จะเขียนว่ามากน้อยเพียงใด ซึ่งจะกำหนดรูปแบบหรือขนาดของตัวอักษรด้วย

2.5 ขั้นตอนการเขียนอักษร 2.5.1 เส้นบรรทัด ( Guide Lines ) เขียนเส้นเบา ๆ ใช้ดินสอคมไส้แข็ง (H- 2H ) เส้นบรรทัดจะกำหนดความสูงของตัวอักษร ช่องห่างระหว่างบรรทัดกว้างประมาณ 60% ของความกว้างบรรทัด การกำหนดบรรทัดอาจใช้ Divider ดังในรูปที่ 2.5

2.5 ขั้นตอนการเขียนอักษร 2.5.2 ลำดับการเขียนเส้นอักษร ( Order of Strokes ) หากเขียนด้วยดินสอควรใช้เกรด F หรือ HB ต้องมีความคมของดินสอสม่ำเสมอ การจับดินสอ การเคลื่อนที่ของมือและดินสอ ดั่งในรูปที่ 2.6

2.6 องค์ประกอบ ( Composition) หลังจากได้ทราบวิธีการและฝึกหัดการเขียนอักษรแบบต่าง ๆ ตามมาตรฐานได้จนเป็นที่พอใจแล้ว ในการนำไปใช้งานเขียนแบบ การเลือกขนาดอักษร ตลอดจนการจัดตำแหน่งอักษรเพื่อให้เกิดเป็นคำ เป็นประโยค หรือข้อความ ก็เป็นสิ่งจำเป็นที่ผู้เขียนแบบควรทราบและเข้าใจองค์ประกอบเหล่านี้ด้วย -ช่องว่างระหว่างอักษร (Spacing ) -ระยะห่างระหว่างคำ ( Word Spacing) -องค์ประกอบกลุ่มคำ ( Word Composition)

2.7 การกำหนดขนาด ( Specifying Sizes) ในงานเขียนแบบ สิ่งสำคัญที่สุดที่ผู้เขียนแบบต้องกำหนดให้ชัดเจน คือ รูปแบบ ขนาด และวัสดุ ถ้าขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งแล้ว ย่อมไม่สามารถกำสร้างชิ้นงานให้เป็นไปตามแบบนั้นๆ ได้ การกำหนดขนาดเป็นการบอกให้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับขนาด ระยะทาง หรือตำแหน่งต่าง ๆ ของชิ้นงาน ทั้งนี้เพื่อการอ่านแบบ ตีความ ผลิต หรือก่อสร้าง ให้ถูกต้องตามที่รูปแบบกำหนด ทั้งยังเป็นข้อมูลในการวางแผนและประมาณการต่าง ๆ ได้ด้วย

2.7 การกำหนดขนาด ( Specifying Sizes) การกำหนดขนาด แบ่งได้เป็น 3 ลักษณะดังนี้ 2.7.1 การให้มาตราส่วน ( Scale)

2.7 การกำหนดขนาด ( Specifying Sizes) 2.7.2 การให้ขนาด (Dimensioning ) -เส้นบอกขนาด (Dimension Line ) -เส้นต่อ ( Extension Lines) -หัวลูกศร ( Arrow Head) -ตัวเลขบอกขนาด

2.7 การกำหนดขนาด ( Specifying Sizes) 2.7.3 การระบุขนาด ( Notes)

2.7 แบบฝึกหัดที่ 2 วัตถุประสงค์ 2.7 แบบฝึกหัดที่ 2 วัตถุประสงค์ – ฝึกหัดการเขียนอักษรด้วยมือ (Free Hand Lettering ) ,การจัดองค์ประกอบของคำและข้อความให้มีความชำนาญ - รู้หลักการเขียนหัวกระดาษ (Title Block )ที่ดี - ฝึกหัดการให้ขนาด (Dimensions & Notes ) ที่ถูกต้อง ตามหลักสากล

2.7 แบบฝึกหัดที่ 2 ปัญหา 1. ให้เขียนอักษร Freehand Lettering-Single Stroke ของอักษร A-Z และตัวเลข 0-9 แบบ Capital และ Lower Case ทั้งตัวตรงและตัวเอียง อย่างละ 2 เที่ยว (กำหนดขนาดเองตามเหมาะสม) 2. ให้คัดลอกบทความภาษาอังกฤษ โดย Free hand Lettering – Single Stroke ทั้งแบบตัวตรงและตัวเอียง อย่างละ 7 บรรทัด เป็นอย่างต่ำ พร้อมทั้งออกแบบ Title Block ที่เหมาะสม (กำหนดขนาดอักษรเอง) 3. จงเขียนแบบของชิ้นงานตามแบบที่กำหนดให้อย่างประณีตพร้อมทั้งให้ขนาดแบบต่อเนื่อง (Continuous Dimensioning ) ให้ครบถ้วยและถูกต้องตามหลักสากล (Dimensions in mm. )