บทที่ 2 หลักการควบคุมภายใน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อุปกรณ์ของสำนักงานอัตโนมัติ
Advertisements

บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ 14 เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
บทที่ 12 ระบบบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ถาวร
บทที่ 10 ระบบบัญชีเกี่ยวกับการควบคุมสินค้าคงเหลือ
ความหมายของการวางแผน
SMART Disclosure Program
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
Graduate School Khon Kaen University
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
งานพนักงานราชการและลูกจ้าง
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
ระบบการบริหารการตลาด
การหาความเที่ยงของการจำแนกประเภท ผู้ป่วยด้วยระบบ IRR Testing
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
สรุปข้อดีข้อเสีย Proprietary VS Off-the-shelf Software
ระดับความสำเร็จของ การควบคุมภายใน
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
บทที่ 1 เป้าหมายและหน้าที่ในการบริหารการเงินเบื้องต้น.
ได้กล่าวว่า ในระดับบุคคลข่าวสารที่ ได้จากระบบ ช่วยทั้งในแง่ ส่วนตัวและวิชาชีพ ในระดับองค์การ การจะมีส่วนช่วยองค์การให้มี ประสิทธิภาพจะมีผลกระทบต่อกล ยุทธ์และความสำเร็จขององค์การ.
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
การงบประมาณ (Budget).
คุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ของนักบัญชี
KM เรื่อง “การบริหารความเสี่ยง” ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี
กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 230
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การพัฒนาโปรแกรมระบบสารสนเทศสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษา
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
แนวทางการจัดระบบงานสำหรับสหกรณ์ ที่ใช้โปรแกรมระบบบัญชี
ภาพแสดงกรอบการปฏิบัติงานการตรวจสอบภายใน
สมบูรณ์ บุญกิจอนุสรณ์ กองงานด่านอาหารและยา
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
ตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
บทที่ 5 การวางแผนการผลิต.
ความเสี่ยง ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งานไม่ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง
โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
คุณลักษณะของสังคมไทยที่ พึงปรารถนา ต้องเป็นสังคมที่ผาสุกและเป็นธรรม ต้องเป็นสังคมที่มีระเบียบวินัย มีเหตุผล เคารพในกติกาของสังคม ต้องเป็นสังคมที่พึ่งพาตนเองได้
มาตรฐานการควบคุมภายใน
บทที่ 1 บทนำ โดย อ.มานิตย์ ผิวขาว
การวางแผนและควบคุมกำไรโดยงบประมาณ
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
ลักษณะของระบบบัญชี.
: information security (ความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ)
สรุปผลงานของ แผนกบริหารงานทั่วไป และ กฟฟ.ในสังกัด
 จัดเก็บ บริหาร บันทึกการ ฝึกอบรม ความต้องการ การฝึกอบรม การวางแผนการ ฝึกอบรม การมอบหมาย งาน   บริหารจัดการบันทึก สภาพแวดล้อมทั้ง  อุณหภูมิ ความชื้น.
หลักการแก้ปัญหา.
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การบริหารโครงการ ยุทธนา พรหมณี.
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
กระบวนการกลุ่ม เครือข่ายการตลาด
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
การตรวจความปลอดภัย วัตถุประสงค์การตรวจความปลอดภัย
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ระเบียบการเบิกจ่ายงบประมาณ
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
บทที่ 7 การดำเนินการผลิตในระบบอุตสาหกรรมเกษตร
กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
บทที่7 ระบบการควบคุมสินค้าคงเหลือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 หลักการควบคุมภายใน ความหมายของหลักการควบคุมภายใน ความสำคัญขงหลักการควบคุมภายใน ประเภทของการควบคุมภายใน ส่วนประกอบของการควบคุมภายในทางบัญชี ประโยชน์ของการควบคุมภายใน

ความสำคัญของหลักการควบคุมภายใน หลักการควบคุมภายใน (Internal Control) หมายถึง แผนการจัดสายงาน วิธีการและมาตรการต่าง ๆ ที่ฝ่ายบริหารกำหนดเพื่อให้มีการบันทึกข้อมูลทางบัญชีที่ถูกต้อง ความสำคัญของหลักการควบคุมภายใน 1. การดูแลรักษาทรัพย์สินให้ปลอดภัยจากการทุจริตและลดข้อผิด พลาดรวมทั้งให้มีการใช้สินทรัพย์อย่างเหมาะสม 2. การบันทึกข้อมูลทางบัญชีอย่างถูกต้องและเชื่อถือได้ 3. การดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ 4. การดำเนินงานตามนโยบายที่ฝ่ายบริหารกำหนดไว้

ประเภทของการควบคุมภายใน 1. การควบคุมภายในทางบัญชี หมายถึง แผนการจัดสายงาน วิธีการ มาตรการต่าง ๆ ที่ฝ่ายบริหารกำหนดเพื่อให้มีการบันทึกข้อมูลทางบัญชีอย่างถูกต้อง และมีการดูแลรักษาทรัพย์สินให้ปลอดภัย รวมถึงการมอบอำนาจหน้าที่การอนุมัติให้ชัดเจน 2. การควบคุมภายในทางบริหาร หมายถึง แผนการจัดสายงาน วิธีการ มาตรการต่าง ๆ ที่ฝ่ายบริหารกำหนดขึ้น เพื่อให้การปฏิบัติงานต่าง ๆ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ส่วนประกอบของการควบคุมภายในทางบัญชี ผังการจัดสายงาน นโยบายและวิธีปฏิบัติงาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน การจดบันทึกและการรายงาน การตรวจสอบภายใน

ผังการจัดสายงาน

กลับ ประโยชน์ของการควบคุมภายใน 1. ช่วยให้ทราบถึงความผิดพลาด 1. ช่วยให้ทราบถึงความผิดพลาด 2. ช่วยให้สามารถวางแผนป้องกันหรือแก้ไขข้อผิดพลาดได้ทันท่วงที 3. ช่วยป้องกันการทุจริต 4. ช่วยให้ทราบถึงการสูญเสียในสินทรัพย์ได้รวดเร็ว 5. ช่วยในการควบคุมงานให้มีประสิทธิภาพ 6. ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานมีระมัดระวังและทำงานด้วยความรอบคอบ กลับ