ปฏิกิริยาออกโทซิเดชัน (autoxidation)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Department of Chemistry Mahidol wittayanusorn School
Advertisements

โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
รองศาสตราจารย์ ดร. วิบูลย์ รัตนาปนนท์
Photochemistry.
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
Ground State & Excited State
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
Evalution of Antioxidation Activity
Department of Chemistry Mahidol wittayanusorn School
สารต้านปฏิกิริยาออกซิเดชัน (antioxidants)
Body lotion with Caviar extract & Centella asiatica
Purelife Cindria Soy-Q10 Plus
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน น้ำมันพืชและไขมันสัตว์
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
เรื่อง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
ประวัติความเป็นมา วัตถุประสงค์
สารไวต่อปฏิกิริยาเคมี
ปัจจัยทีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเสื่อมเสียของอาหาร
ประโยชน์ในผักแต่ละสี
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
Mr. POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
Part4 : Alcohols and Reaction of Alcohols
Chemical Properties of Grain
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยุกต์
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ
ชาเขียว สารสกัดจากใบชา
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
ความหมายของสิทธิบัตร
( Stanum ใช้สัญลักษณ์ Sn )
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
สารประกอบ.
สารต้านอนุมูลอิสระในอาหารไทย
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
การออกแบบอุปกรณ์ควบคุมมลภาวะอากาศ
Electronics for Analytical Instrument
อาหารเพื่อผิวสวย โดย ฉัตรฤทัย บัวสุข
โดย คุณครูพัชรี ลิ้มสุวรรณ
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹Ñ­ªÑ นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย
สร้อยข้อมือพลังงาน พลังงาน กำไลเป็นเทคโนโลยีที่ออกแบบมาเพื่อทำงานร่วมกับร่างกายของคุณ ก่อตั้งขึ้นโดยนักกีฬา, สร้อยข้อมือพลังงานเป็นที่ชื่นชอบในหมู่นักกีฬายอดเยี่ยม.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
นายปรีชานันท์ อุปละ ม.4/5 เลขที่ 11
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
อาหารปลอดภัยด้านประมง
พันธะเคมี.
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปฏิกิริยาออกโทซิเดชัน (autoxidation) SORACHAI SAE-LIM Department of Chemistry Mahidol wittayanusorn School

ปฏิกิริยาออกโทซิเดชัน (autoxidation) ออโทออกซิเดชันเป็นกระบวนการทางธรรมชาติที่เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างโมเลกุลออกซิเจนกับไขมันไม่อิ่มตัว เป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ที่เกี่ยวข้องกับอนุมูลอิสระ (free radical) (Shahidi และคณะ, 1992)

โดยมี 1O2 โลหะไอออน แสง หรือความร้อน เป็นอินนิทิเอเตอร์ (initiator) การเกิดปฏิกิริยาในขั้นตอนแรกนี้ -methylenic hydrogen ในโมเลกุลของไขมันไม่อิ่มตัวจะถูกดึงออกทำให้ไขมันไม่อิ่มตัวถูกเปลี่ยนไปเป็นอนุมูลอิสระของลิปิด (lipid free radicals) (สมการ 1)

อนุมูลอิสระนี้มีความว่องไวมากสามารถทำปฏิกิริยาต่อไปโดยการรวมตัวกับโมเลกุลออกซิเจนเกิดเป็นอนุมูลอิสาระของเปอร์ออกไซด์ (สมการ 2)

อนุมูลอิสระนี้จะเป็นตัวการที่ทำให้ปฏิกิริยาออโทออกซิเดชันเกิดอย่างต่อเนื่อง โดยไปดึงอนุมูลอิสระไฮโดรเจนจากไขมันไม่อิ่มตัวในโมเลกุลอื่นๆ ทำให้เกิดอนุมูลอิสระของลิปิดตัวใหม่ และเกิดปฏิกิริยาเช่นนี้หมุนเวียนกันไป (สมการ 2 และ 3) ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากขบวนการนี้คือ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (hydrogenperoxide)

Lipid Oxidation Mechanism ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์จะสลายตัวและเปลี่ยนแปลงต่อไปให้ผลิตภัณฑ์เป็นแอลกอฮอล์ คีโตน แอลดีไฮด์ ไฮโดรคาร์บอน หรือผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชัน (รูปที่ 1)

ซึ่งผลิตภัณฑ์เหล่านี้ส่งผลให้ลักษณะสี กลิ่น รส และคุณค่าทางโภชนาการของอาหารเปลี่ยนแปลงไป (Shahidi และคณะ, 1992)

REFERENCES

THANK YOU