งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สารไวต่อปฏิกิริยาเคมี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สารไวต่อปฏิกิริยาเคมี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สารไวต่อปฏิกิริยาเคมี

2 สารไวต่อปฏิกิริยาเคมี
ทำปฏิกิริยารุนแรงปล่อยความร้อนหรือแก๊สปริมาณมากอย่างรวดเร็ว จนถ่ายเทหรือกระจายสู่สิ่งแวดล้อมไม่ทัน ทำให้ควบคุมสถานการณ์ไม่ได้ สารระเบิดได้ (explosive) สารไวต่อน้ำ (water – sensitive) สารไวต่ออากาศ (air – sensitive) ของผสมของออกซิไดเซอร์และรีดิวเซอร์ (oxidizers with reducers)

3 สารไวต่ออากาศ (air – sensitive)
- สารที่ทำปฏิกิริยากับ O2 ในอากาศ - ประเภทของสารไวต่ออากาศ *ผงโลหะ เช่น zine , nickel , titanium *โลหะแอลคาไล เช่น sodium , potassium *ไฮโดรด์ เช่น diborate , barium hydride *สารอื่นๆ เช่น sodium amide , organometallics naxt

4 สารไวต่อน้ำ สารซึ้งเกิดปฏิกิริยาคายความร้อนหรือลุกติดไฟเมื่อสัมผัสกับน้ำ ได้แก่ โลหะแอลคาไล (Alkali metals) โลหะแฮไลด์ (Metal halides) โลหะคาร์ไบด์(Metal carbides) และสารประกอบโลหะอินทรีย์ต่างๆ เป็นต้น สัญลักษณ์ของสารไวต่อน้ำตาม NFPA สมาคมป้องกันอัคคีภัยแห่งชาติ ของสหรัฐอเมริกา next

5 สัญญาลักษณ์ ของสารไวต่อน้ำ
w next

6 ข้อควรระวังในการใช้สารที่ไวปฏิกิริยากับน้ำ
มีดังต่อไปนี้   -ไม่ควรเก็บสารไวต่อน้ำ ในบริเวณที่ติดตั้งระบบพ่นน้ำอัตโนมัติเมื่อเกิดไฟไหม้ -ต้องเก็บในที่เย็น และแห้ง -แยกเก็บจากสารไวต่อการเกิดปฏิกิริยาอื่นๆ -ติดป้ายบอก “ห้ามใช้น้ำบริเวณนี้” back

7 สารระเบิด สารเคมีซึ่งอาจติดไฟหรือระเบิดเมื่อได้รับพลังงานในรูปของความร้อน หรือเปลวไฟ หรือแรงเสียดทาน หรือแรงกระแทกแบบ lmpact หรือแบบ Shock ได้แก่ สารระเบิด สารเพอร์ออกไซด์อินทรีย์ (Organic peroxide) สารทำให้เกิดฟองอากาศ (Blowing agent) ผลิตภัณฑ์ไนโทรเซลลูโลส ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ แอมโมเนียมไนเทรตและปุ๋ยเคมีที่มีแอมโมเนียมไนเทรตเป็นองค์ประกอบสารเหล่านี้มักจะประกอบด้วยกลุ่มพันธะของ N-O , N-N , O-O และ O-X สารระเบิดได้ที่ทำขึ้นเพื่อใช้เป็นวัตถุระเบิด -ผงดินปืน -Nitroglycerine กับ ammonium nitrate หรือ potassium nitrate next

8 การป้องกันการระเบิดโดยเติมตัวยับยั้ง
next สารไวต่อการเกิดปฏิกิริยา ตัวยับยั้ง Picric acid น้ำ Methyl vinyl ketone Triethanolamine Lead azide Acrylaldehyde Hydroquinone Disodium acetylide

9 ข้อควรระวังในการใช้สารระเบิด
1.ไม่ใช้หรือเก็บสารดังกล่าวข้างต้นไว้ในปริมาณมากๆ 2.ควบคุมสารตัวอย่างข้างต้นอย่างระมัดระวัง เมื่อใช้ในปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน (Polymerization) และปฏิกิริยาออกซิเดชัน หรือปฏิกิริยาคายความร้อนอื่นๆ 3.ไม่ใช้พายตัก (Spatula) ที่ทำด้วยโลหะ ไม่ใช้จุกอุดภาชนะที่ทำด้วยแก้ว (Ground glass plug) 4.รวมถึงข้อควรระวังสำหรับสารติดไฟหรือเผาไหม้ได้ back

10 เอกสารอ้างอิง รศ.ดร.ขันทอง สุนทรภา.ความปลอดภัยของการใช้สารเคมี.สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

11 จบการนำเสนอ

12 สมาชิกกลุ่มที่ 2 นางสาววารุณี ศิริจันทร์ รหัส นางสาววนิดา เจียมสุภา รหัส นางสาวรุ่งทิววา รัตนวาร รหัส


ดาวน์โหลด ppt สารไวต่อปฏิกิริยาเคมี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google