ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเคลื่อนที่.
Advertisements

5.5 The Method of images เมื่อเราทราบว่าผิวตัวนำคือ ผิวสมศักย์ ดังนั้นถ้าอ้างอิงในผิวสมศักย์มีศักย์อ้างอิงเป็นศูนย์ จะสามารถหาศักย์ไฟฟ้าที่จุดใดๆ โดยใช้วิธีกระจก.
8.4 Stoke’s Theorem.
Conductors, dielectrics and capacitance
Chapter 7 Poisson’s and Laplace’s Equations
2.5 Field of a sheet of charge
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ
Vector Analysis ระบบ Coordinate วัตถุประสงค์
8.2 Ampere’s Law “อินทริกรัลเชิงเส้นของสนามแม่เหล็กรอบเส้นทางปิดใดๆมีค่าเท่ากับกระแสที่ผ่านเส้นทางปิดนั้น” สำหรับสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสเส้นตรงยาวอนันต์
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
4.8 Energy Density in The Electrostatic Field
รายงานธุรกิจ.
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
การวิเคราะห์ความเร็ว
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Chapter 8 The Steady Magnetic Field
พิจารณาหา D ในช่วง a< ρ <b
9.7 Magnetic boundary conditions
5.9 Capacitance พิจารณาแผ่นตัวนำที่มีประจุอยู่และแผ่นตัวนำดังกล่าววางอยู่ในสาร dielectric ค่าควรจุของตัวเก็บประจุคือการนำเอาประจุที่เก็บสะสมหารกับความต่างศักย์ระหว่างสองแผ่นตัวนำ.
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
Electromagnetic Wave (EMW)
อสมการ.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
แรงไฟฟ้า และ สนามไฟฟ้า
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
เป็นจุดใดๆ ในพิกัดทรงกลม
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
กระแสไฟฟ้า Electric Current
เส้นประจุขนาดอนันต์อยู่ในลักษณะดังรูป
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
Electric force and Electric field
Electric field line Electric flux Gauss’s law
งานและพลังงาน (Work and Energy).
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
ทฤษฏีบทพีธาโกรัส กรรณิกา หอมดวงศรี ผู้เขียนเนื้อหา.
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ฟิสิกส์สำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
วงรี ( Ellipse).
หน่วยที่ 1 บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
เรื่อง จัดทำโดย กราฟ นายเทวา หาระโคตร ปวช.2 กลุ่ม.2 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ขอนำเสนอ แผนภูมิกราฟ.
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ความชันและสมการเส้นตรง
ทรงกลม.
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density Electric Flux Density ,Gauss’s Law and Divergence วัตถุประสงค์ ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density สามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎี Divergence ในสนาม การวิเคราะห์ความสมมาตรของปริมาณไฟฟ้าเนื่องจากการกระจายประจุ ทราบกฎข้อที่ 1 แห่งสมการ Maxwell

1.ใส่ประจุบวกที่ทราบค่าในทรงกลมตัวนำ 3.1 Electric Flux Density การทดลองของ Faraday 1.ใส่ประจุบวกที่ทราบค่าในทรงกลมตัวนำ 2.ใส่สาร dielectric รัศมี 2 cm จากทรงกลมใน 3.ก่อนใส่ทรงกลมตัวนำด้านนอกต้อง discharge ประจุให้หมด 4.ทำการวัดประจุที่ทรงกลมตัวนำด้านนอกอีกครั้ง _ _ + + _ + + _ + _

ผลการทดลอง วัดประจุได้เท่ากับประจุด้านใน แต่ชนิดตรงกันข้าม เมื่อเปลี่ยนสาร dielectric ที่คั่นกลาง ผลปรากฏเหมือนเดิม สรุปผลการทดลอง ผลที่ได้ แสดงว่าระหว่างตัวนำ2ตัวที่ขั้นกลางด้วยสาร dielectric จะเกิดการกระจัดทางไฟฟ้าขึ้น ซึ่งการกระจัดนี้ ไม่ได้ขึ้นกับชนิดของสารที่ขั้นกลางระหว่างผิวตัวนำ การกระจัดทางไฟฟ้าที่ไม่ขึ้นกับชนิดของสาร dielectric นี้คือ electric flux นั่นเอง การกระจัดดังกล่าวส่งผลให้เกิดประจุชนิดตรงข้ามที่อีกด้านที่มีขนาดเท่ากันกับขนาดของประจุด้านใน

ดังนั้นจำนวนเส้น flux จะมีค่าเท่ากับประจุที่มี พิจารณาความหนาแน่ของเส้น flux ที่รัศมี a ดังนั้นหน่วยของ electric flux density คือ คูลอมบ์ ต่อตารางเมตร พิจารณาความหนาแน่ของเส้น flux ที่รัศมี r ใดๆที่ a < r < b

แต่ ดังนั้น ความหนาแน่น ฟลักซ์ไฟฟ้านี้ขึ้นกับ ε0 หรือไม่ จากความสัมพันธ์ดังกล่าว ถ้าทราบ ย่อมทราบ

3.2 Gauss’s Law “ฟลักซ์ไฟฟ้าที่ผ่านผิวปิดใดๆมีค่าเท่ากับจำนวนประจุรวมที่มีในผิวปิดนั้น”

สำหรับพื้นที่ Δs ส่วนประกอบที่ผ่านออกมาจาก Δs ต้องเป็นส่วนประกอบที่ตั้งฉาก จากรูป DSnormal เป็นส่วนประกอบของ D ที่ตั้งฉากกับผิว Δs ดังนั้น flux ที่พุ่งผ่านพื้นที่ คือ ส่วนประกอบที่ตั้งฉากกับผิว Qenc คือ รวมประจุทุกระบบ ทั้งหมด ที่ถูกหุ้มในผิวปิด

พิจารณาสนามที่เกิดจากจุดประจุ จากรูป ที่รัศมี r = a จากผิวดังกล่าว

3.3 Some Symmetrical Charge Distributions การแก้ปัญหาในการหาสนามไฟฟ้าบางปัญหาที่มีการกระจายของระบบประจุที่ทำให้สามารถเลือกผิวปิด ที่ทำให้ความหนาแน่นฟลักซ์ไฟฟ้าตรงกับคุณสมบัติทั้งสอง จะสามารถหาสนามไฟฟ้าได้โดยง่ายกว่าการใช้ Coulomb’s law 1.เป็นผิวที่ทำให้ Ds ตั้งฉากหรือสัมผัสกับผิวจะทำให้ค่า หรือเท่ากับศูนย์ 2.ดังนั้น ในแต่ละส่วนของผิวปิดดังกล่าว ไม่เป็นศูนย์ Ds จะเป็นค่าคงที่ ที่ไม่ขึ้นกับผิว

สำหรับ จุดประจุ ถ้าเราเลือกผิวปิดเป็นผิวของทรงกลมที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ จุดประจุดังกล่าวจะได้ Ds ไม่เป็นค่าที่ขึ้นกับมุมθ และ φ ดังนั้น จาก

สำหรับระบบประจุเชิงเส้นเราทราบว่า สนามมีแต่แนวρ เท่านั้น แต่ Q = ρLL จาก