ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่าการกระจาย ค่ามาตรฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
Advertisements

การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
5.2 การวัดตำแหน่งของข้อมูล
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน
สถิติพื้นฐานที่มีโอกาสนำไปใช้บ่อย
ลำดับเรขาคณิต Geometric Sequence.
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
(Statistical Package for the Social Sciences : SPSS)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ที่เป็นผลต่างของกำลังสอง
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
Graphical Methods for Describing Data
มาตรฐานการวัด คุณภาพตัวชี้วัด และ สถิติ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
คณิตศาสตร์ แสนสนุก.
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
สถิติในการวัดและประเมินผล
ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
การแจกแจงปกติ.
การสุ่มตัวอย่างและการแจกแจงกลุ่มตัวอย่าง
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
(Descriptive Statistics)
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ทฤษฎีบทปีทาโกรัส.
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะศิลปศาสตร์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาลัยราชสุดา ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557.
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันนวัตกรรม การเรียนรู้ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรศาสตร์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันโภชนาการ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
Basic Statistics พีระพงษ์ แพงไพรี.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะเภสัช ศาสตร์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันวิจัยภาษา และวัฒนธรรมเอเชีย ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาลัยนานาชาติ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะ วิศวกรรมศาสตร์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันชีววิทยา ศาสตร์โมเลกุล ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
ครูปพิชญา คนยืน. สถิติ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 7 ครูปพิชญา คนยืน จงสร้างตารางแจก แจงความถี่ของ ข้อมูลต่อไปนี้ โดย กำหนดให้มี 5 ชั้น และหาขอบล่าง, ขอบบน.
หลักการคำนวณค่าทางสถิติพื้นฐาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่าการกระจาย ค่ามาตรฐาน

หมายถึง ค่าที่จะใช้เป็นตัวแทนของข้อมูลชุดหนึ่งๆ ในการสื่อความหมาย ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง หรือ ค่ากลางของข้อมูล หมายถึง ค่าที่จะใช้เป็นตัวแทนของข้อมูลชุดหนึ่งๆ ในการสื่อความหมาย ให้ผู้อื่นเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะของข้อมูลชุดนั้น ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic mean) ค่ามัธยฐาน (Median) ค่าฐานนิยม (Mode) ค่าเฉลี่ยฮาร์โมนิก (Harmonic mean) ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต (Geometric mean)

ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เป็น ค่าที่ได้จากการนำผลรวมหรือผลบวกของคะแนนทั้งหมด หารด้วยจำนวนคะแนน ตัวอย่าง มีคะแนน 6 ตัว ดังนี้ 2, 4, 6, 10, 15, 17 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนน 6 ตัว หาได้ดังนี้

ค่ามัธยฐาน Me เป็น ค่าที่มีตำแหน่งอยู่กึ่งกลางของข้อมูลทั้งหมด เมื่อนำข้อมูลนั้น มาเรียงจากค่าน้อยไปหาค่ามาก ตัวอย่าง 1 มีคะแนน 7 ตัว ดังนี้ 2, 4, 6, 9, 10, 15, 17 ค่ามัธยฐาน คือคะแนน ตัวที่ 4 มีค่าเท่ากับ 9 ตัวอย่าง 2 มีคะแนน 6 ตัว ดังนี้ 2, 4, 6, 10, 15, 17 ค่ามัธยฐาน คือคะแนน ที่อยู่ระหว่างคะแนน ตัวที่ 3 กับตัวที่ 4 มีค่าเท่ากับ (6+10)/2 = 8

ค่าฐานนิยม Mo เป็น ค่าที่มีความถี่หรือมีจำนวนมากที่สุดของข้อมูลทั้งหมด

S น้ำหนัก (กก.) Xi 45 46 47 48 49 50 จำนวนนักเรียน fi 5 7 9 3 1 fiXi 225 322 423 144 245 50 S 30 1409

S ช่วงอายุ หลอดไฟ 118-122 123-127 128-132 133-137 138-142 143-147 จำนวน fi 2 8 15 11 3 1 จุดกึ่งกลาง Xi 120 125 130 135 140 145 fiXi 240 1000 1950 1485 420 145 S 40 5240

S ช่วงอายุ หลอดไฟ 118-122 123-127 128-132 133-137 138-142 143-147 จำนวน fi 2 8 15 11 3 1 di -2 -1 1 2 3 fidi -4 -8 11 6 3 S 40 8

S ช่วงอายุ หลอดไฟ 118-122 123-127 128-132 133-137 138-142 143-147 จำนวน fi 2 8 15 11 3 1 cf 2 10 25 36 39 40 S 40

S ช่วงอายุ หลอดไฟ 118-122 123-127 128-132 133-137 138-142 143-147 จำนวน fi 2 8 15 11 3 1 S 40 ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง

การวัดการกระจายของข้อมูล เป็นการหาค่าที่ใช้เป็นตัวแทน ที่จะแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างของข้อมูล

วิธีหาค่าการกระจายของข้อมูล พิสัย (Range) ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ (Quartile Deviation) ความเบี่ยงเบนเฉลี่ย (Mean Deviation) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ความแปรปรวน (Variance) สัมประสิทธิ์ของความแปรผัน (coefficient of variation)

คนที่(i) คะแนน(xi) xi-m |xi-m| (xi-m)2 1 3 -3 9 2 6 8 4 -4 16 5 7 -1 รวม 54 44 เฉลี่ย(m) 6.00 1.78 4.89 2.21

Range, MD., Q.D. Range = Max - Min n x . MD - S = 2 Q . D 1 3 - =

Variance Standard Deviation

ตัวอย่าง ข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ X 3 4 6 7 10 X2 9 16 36 49 100

ข้อมูลที่แจกแจงความถี่แล้ว ตัวอย่าง ข้อมูลที่แจกแจงความถี่แล้ว x 18 15 11 10 9 8 f 3 2 4 1 fx 54 30 44 18 8 x2 324 225 121 100 81 64 fx2 972 450 484 300 162 64 15 184 2432

ค่าการกระจายสัมพัทธ์ เป็นค่าที่ใช้ในการเปรียบเทียบการกระจายของข้อมูลชนิดเดียวกัน 2 ชุดขึ้นไป วิธีหาค่าการกระจายสัมพัทธ์ที่ใช้กันแพร่หลาย คือ สัมประสิทธิ์ของความแปรผัน (coefficient of variation) ใช้แทนด้วยสัญลักษ์ C.V. มีสูตรดังนี้

คะแนนมาตรฐาน คืออัตราส่วนระหว่างการเบี่ยงเบนจากค่าเฉลี่ยเลขคณิตต่อส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นการเปรียบเทียบให้เห็นว่าคะแนนดิบอยู่ห่างจากค่าเฉลี่ยเลขคณิตกี่หน่วยของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้แทนด้วยสัญลักษ์ Z T = 10Z + 50