งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
Advertisements

โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
ดำเนินการโดย สำนักงานเกษตรอำเภอวังม่วง อำเภอวังม่วง จังหวัด สระบุรี
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำหมักกล้วย.
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำหมักกล้วย.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
การใช้จุลินทรีย์ EM ลดกลิ่นแอมโมเนียจากมูลสุกร
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
สรุปใส่ปุ๋ย 100 กก.พืชกินปุ๋ยได้แค่ 30 กก.
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
การจัดการน้ำเสียจากฟาร์มสุกร โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ
บทนิยาม อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ อาคารสิ่งปลูกสร้าง
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
การล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
G Garbage.
การพิจารณาเลือกระบบบำบัดน้ำเสีย
การเล่าเรื่อง.... ชีววิถีสู่ครัวเรือน. เรื่อง การผลิตฮอร์โมนพืช ผู้เล่า ธีรารัตน์ สุวรรณาลัย แนวคิด อยากลองใช้ EM กับต้นไม้ดอกไม้ใน บ้านเพื่อเร่งการออกดอกของต้นไม้
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 435/2540 เรื่อง กำหนดประเภทของโรงงานอุตสาหกรรมที่อนุญาตให้ระบายน้ำทิ้งให้มีค่ามาตรฐานแตกต่างจากค่ามาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งที่กำหนดไว้ในประกาศกรมเจ้าท่า.
เรื่อง น้ำยาไล่แมลงวัน
ผลิตภัณฑ์ยาหม่อง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปุ๋ยชีวภาพ Organicfertilizer
โรงเรียนวังทองพิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลกเขต 2
การปลูกพืชกลับหัว.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวินัย ไชยอุดม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ
วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 1. ระบบประปา 2. ระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย
ในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
การจัดการองค์ความรู้ (KM) การทำนาข้าวโดยไม่เผาตอซัง
************************************************
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
การจัดการองค์ความรู้ เรื่องการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน สถานที่ดำเนินการ บ้านวังบง หมู่ที่ 10 ตำบลนาด้วง อำเภอนาด้วง.
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพในบ่อเลี้ยงปลาดุก
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
1.ด.ญ.ธนากร อยู่คง 3.ด.ช.วธัญญู อู่นาท 4.ด.ญ.วราภรณ์ เมืองแก้ว
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
กิจกรรมลดปริมาณขยะก่อนทิ้งในวิทยาลัย
กิจกรรมของโรงเรียนบ้านเขา แก้ววิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๒.
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
องค์ความรู้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์การทอเสื่อกก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มทอเสื่อกกบ้านนาหมอม้า ผู้ให้องค์ความรู้ นางนิ่ม นวลขาว ที่อยู่ 961 หมู่ 7.
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
Energy flow of organis m. ความสัมพันธ์ของ สิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ในระบบ นิเวศที่มีการกินต่อกันเป็นทอด ๆ และมักเริ่มต้นด้วย ผู้ผลิต.
การจัดการความรู้ (KM) ปี 2558 สำนักงานเกษตรอำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี
กระบวนการจัดการมูลฝอย การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์ 0.5 ลิตร : กากน้ำตาล 2 ลิตร หมักรวมกันในถัง 100 ลิตรประมาณ 7-10 วันจนได้น้ำปุ๋ยชีวภาพสีน้ำตาลเข้มสามารถนำไปใช้ ประโยชน์ได้หลายอย่างเช่น นำไปเจือจางในอัตราส่วน 1:500 เพื่อใช้รด ต้นไม้ นำไปใช้ดับกลิ่นในห้องน้ำ หรือนำไปใส่ในลำคลองเพื่อบำบัดน้ำ เสียสถานที่หมักปุ๋ยชีวภาพได้แก่ สวนเกษตรระดับปฐมวัย และสวน เกษตรระดับประถมศึกษาฯ

1.เตรียมจุลินทรีย์ (E.M.)½ ลิตร กากน้ำตาล 2 ลิตรและเปลือกกล้วย 2 กก. ขั้นตอนการผลิตปุ๋ยชีวภาพ 1.เตรียมจุลินทรีย์ (E.M.)½ ลิตร กากน้ำตาล 2 ลิตรและเปลือกกล้วย 2 กก.

2. ตัดเปลือกกล้วยให้มีขนาดเล็กลงเพื่อให้จุลินทรีย์ย่อยได้ง่าย

3. เตรียมถังหมักขนาด 100 ลิตร ใช้ผ้ามุ้งเย็บเป็นถุงบุด้านในสำหรับ ใส่เปลือกกล้วยที่ตัดแล้ว

4. นำเปลือกกล้วยเทใส่ถังหมัก

5. ผสมจุลินทรีย์และกากน้ำตาลเข้าด้วยกันเติมน้ำเล็กน้อย เพื่อให้ส่วนผสมเข้ากันได้ดี

6.คนส่วนผสมจนกากน้ำตาลละลายหมดจากนั้นเทลงถังหมักที่มี เปลือกกล้วยรอไว้ 6.คนส่วนผสมจนกากน้ำตาลละลายหมดจากนั้นเทลงถังหมักที่มี เปลือกกล้วยรอไว้

7.เติมน้ำสะอาดอีกเล็กน้อยคนส่วนผสมทั้งหมดให้เข้ากันได้ดีอีกครั้ง

8.ปิดฝาถังหมักให้สนิทเพื่อกันอากาศเข้าหมักไว้ 5-7 วัน

9. หลังจากหมักครบ 5-7 วัน เปิดฝาเติมน้ำสะอาดให้เต็มถังหมัก

10. ปิดฝาถังแล้วหมักต่อไปให้ครบ 10 วันจึงนำปุ๋ยชีวภาพไปใช้ได้

11. ปุ๋ยชีวภาพที่ได้มีสีน้ำตาลเข้มหากมีกลิ่นไม่หอมให้เติมกากน้ำตาลเพิ่ม

12.นำปุ๋ยชีวภาพไปใช้ในงานภูมิทัศน์และงานบำบัดน้ำเสีย

ปุ๋ยชีวภาพที่ได้นำมาใส่ในลำรางสาธารณะเพื่อบำบัดน้ำ นักเรียนทำการบรรจุขวดเพื่อนำกลับไปใช้ที่บ้าน