การวิเคราะห์บริบท : ความท้าทายของการบริหารการศึกษาในอนาคต โมดูล 1 การวิเคราะห์บริบท : ความท้าทายของการบริหารการศึกษาในอนาคต
การวิเคราะห์บริบท การวินิจฉัยองค์การ การคิดวิเคราะห์เชิงระบบ แนวคิดและแนวปฏิบัติ จิตตปัญญาศึกษา มีความสัมพันธ์กันอย่างไร ?
บริบท คืออะไร และมีกี่ประเภท ?
การวิเคราะห์บริบท สถานศึกษา หมายถึง อะไร ?
การวินิจฉัยองค์การ การคิดวิเคราะห์เชิงระบบ วิเคราะห์บริบท เป้าหมายของสถานศึกษาในอนาคต การวินิจฉัยองค์การ การคิดวิเคราะห์เชิงระบบ แนวคิดและแนวปฏิบัติจิตตปัญญาศึกษา วิเคราะห์บริบท กรอบแนวคิดของการวิเคราะห์บริบท
ควรกำหนดเป้าหมาย ของสถานศึกษาใน อนาคต ผู้บริหารยุคใหม่ ไทยเข้มแข็ง ควรกำหนดเป้าหมาย ของสถานศึกษาใน อนาคต
สิ่งสำคัญที่ใช้ในการกำหนดเป้าหมายในอนาคต ของสถานศึกษา คือ การวิเคราะห์บริบท ซึ่งควรใช้เทคนิค 3 ประการ ดังนี้ 1. การวินิจฉัยองค์การด้วยเทคนิค SWOT Analysis 2. การคิดวิเคราะห์เชิงระบบ สำหรับการพิจารณาความสัมพันธ์ ของบริบทต่าง ๆ 3. แนวคิดและแนวปฏิบัติจิตตปัญญาศึกษา สำหรับการมองความ สำคัญ หรือ คุณค่าของสิ่งต่าง ๆ ที่มีอยู่ในบริบท โดยเฉพาะมิติภายใน ของบุคคลที่เกี่ยวข้องที่สัมพันธ์กับมิติภายนอก
การวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT Analysis)
ท่านผู้บริหารที่จะ วิเคราะห์บริบทได้ ถูกต้อง แม่นยำ ต้องมี วิธีการคิดวิเคราะห์ เชิงระบบ
การคิดวิเคราะห์ เชิงระบบ หมายถึงอะไร ? การคิดวิเคราะห์ เชิงระบบ หมายถึงอะไร ?
วัฎจักรของระบบ : ฉันกินข้าว ฉันหิว แรงขับ ความต้องการ ความเครียด ตักข้าว ปริมาณข้าวในจาน ท้องอิ่ม บังคับให้หยุด เวลาผ่านไป ฉันหิว ฉันกินข้าว วัฎจักรของระบบ : ฉันกินข้าว
หลักการของการคิดวิเคราะห์เชิงระบบ มีดังนี้ ก หลักการของการคิดวิเคราะห์เชิงระบบ มีดังนี้ ก.การคิดใน “ภาพใหญ่” (Big Picture) ข.สร้างสมดุลมุมมองในระยะสั้นและระยะยาว ค.การคำนึงถึงธรรมชาติของระบบที่เป็นพลวัตซับซ้อน และพื่งพาอาศัยกัน ง.สามารถอธิบายทั้งตัวแปรที่วัดได้และวัดไม่ได้ จ.เราเป็นส่วนหนึ่งของระบบ ซึ่งเรามีหน้าที่อยู่ภายใน และเราแต่ละคนมีอิทธิพลต่อระบบเหล่านั้นในขณะที่เราเองก็ได้รับอิทธิพลจากระบบ
การใช้แนวคิดและแนวปฏิบัติจิตตปัญญาศึกษา มาวิเคราะห์บริบทสถานศึกษามีกระบวนการอย่างไร ?