การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
โดย นางสาวมุทิตา พลอยน้อย นางสาววีรยา เจริญกุล
การศึกษาและประยุกต์ใช้หน่วยการสร้างในขั้นตอนวิธีเชิงวิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูลเจเมทัล Study of Building-Box in Evolutionary algorithm in multi-objective.
COE โปรแกรมการจัดทำตารางสอนสำหรับภาควิชา
กระบวนการวิจัย(Research Process)
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การวิจัย RESEARCH.
ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การมองทฤษฎีการพัฒนาอย่างวิเคราะห์
โครงงานสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณป่าชายเลนบ้านอำเภอ
ADDIE model หลักการออกแบบของ
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
Surachai Wachirahatthapong
การติดตาม และประเมินโครงการ.
วิธีการทางวิทยาการระบาด
Cognitive Development
การเขียนโครงการ.
การจัดกระทำข้อมูล.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
การออกแบบและการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
ระบบ RFID บนทางด่วน RFID systems on the highway
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
หลักการแก้ปัญหา.
การวิจัย ในชั้นเรียน การวิจัย ในชั้นเรียน คือการแสวงหาคำตอบของ คำถามที่เกี่ยวข้องกับระบบ การเรียนการสอนและ สภาพแวดล้อม คือการแสวงหาคำตอบของ คำถามที่เกี่ยวข้องกับระบบ.
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการคิดวิเคราะห์.
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
โครงสร้างข้อมูลและอังกอลิทึม
หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หลักการเขียนโครงการ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
ฟิสิกส์คืออะไร ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรมธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต สสาร พลังงาน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ รวมไปถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดตามธรรมชาติต่างๆ.
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง กระบวนการสืบเสาะแสวงหาความรู้ คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
IDS 3901 ค้นคว้าวิจัยงานออกแบบ. บทที่ 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื้อหาในส่วนนี้มาจากข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับ เรื่องที่จะทำ ประวัติความเป็นมาของตัวสินค้าหรือตัว.
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal หลักการและเหตุผล เนื่องด้วยปัจจุบัน ปัญหาในเชิงวิศวกรรม มีความซับซ้อน และมีปัจจัยที่เกี่ยวข้อง หลากหลาย ซึ่งแต่ละปัจจัยส่งผลกระทบต่อ ผลในการแก้ปัญหาต่างกัน เมื่อปัจจัยรอบข้าง มีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นการศึกษาเครื่องมือ ที่ใช้ในการหาความเหมาะสมระหว่างปัจจัยที่ เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหา จึงเป็นสิ่งหนึ่งที่ สามารถนำไปต่อยอดเพื่อประยุกต์ใช้งานใน การแก้ไขปัญหาที่มีความซับซ้อนของปัญหา ที่มีหลายจุดประสงค์ เพื่อให้ได้มาซึ่งแนวโน้ม ของคำตอบที่เหมาะสม และลดเวลาในการ แก้ไขปัญหาในเชิงวิศวกรรม และ เป็นการลด ค่าใช้จ่ายในการแก้ปัญหาอีกด้วย หลักการและเหตุผล เนื่องด้วยปัจจุบัน ปัญหาในเชิงวิศวกรรม มีความซับซ้อน และมีปัจจัยที่เกี่ยวข้อง หลากหลาย ซึ่งแต่ละปัจจัยส่งผลกระทบต่อ ผลในการแก้ปัญหาต่างกัน เมื่อปัจจัยรอบข้าง มีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นการศึกษาเครื่องมือ ที่ใช้ในการหาความเหมาะสมระหว่างปัจจัยที่ เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหา จึงเป็นสิ่งหนึ่งที่ สามารถนำไปต่อยอดเพื่อประยุกต์ใช้งานใน การแก้ไขปัญหาที่มีความซับซ้อนของปัญหา ที่มีหลายจุดประสงค์ เพื่อให้ได้มาซึ่งแนวโน้ม ของคำตอบที่เหมาะสม และลดเวลาในการ แก้ไขปัญหาในเชิงวิศวกรรม และ เป็นการลด ค่าใช้จ่ายในการแก้ปัญหาอีกด้วย วัตถุประสงค์ 1. ออกแบบปัญหาหลายจุดประสงค์การจัด ตารางการเดินรถไฟฟ้าเพื่อการศึกษาการ ทำงานของคลังโปรแกรม jMetal 2. ศึกษาการทำงานของขั้นตอนวิธีที่มีในคลัง โปรแกรม jMetal เพื่อแก้ปัญหาตัวอย่างโดย ได้ผลการทำงานที่ถูกต้อง เหมาะสม และ รวดเร็ว ในการแก้ปัญหา วัตถุประสงค์ 1. ออกแบบปัญหาหลายจุดประสงค์การจัด ตารางการเดินรถไฟฟ้าเพื่อการศึกษาการ ทำงานของคลังโปรแกรม jMetal 2. ศึกษาการทำงานของขั้นตอนวิธีที่มีในคลัง โปรแกรม jMetal เพื่อแก้ปัญหาตัวอย่างโดย ได้ผลการทำงานที่ถูกต้อง เหมาะสม และ รวดเร็ว ในการแก้ปัญหา การออกแบบ การออกแบบระบบการทำงาน มีการ แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ การออกแบบปัญหาตัวอย่างการเดิน รถไฟฟ้า จุดมุ่งหมายของการออกแบบปัญหา เพื่อสร้างปัญหาที่มีความสัมพันธ์ระหว่าง ปริมาณรถไฟฟ้าที่ให้บริการในเวลาทำการ และ เวลาการรอเฉลี่ยของผู้โดยสาร ซึ่งมีการ จำลองสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ ปัญหา โดยลักษณะการเดินรถไฟฟ้าในแต่ละ ช่วงเวลาทำการ เป็นตัวกำหนดรูปแบบ เวลา การรอเฉลี่ยที่เหมาะสมของผู้โดยสาร การออกแบบการทดสอบการ แก้ปัญหาการทำงานของปัญหาจาก คลังโปรแกรม jMetal เมื่อได้ปัญหาตัวอย่างที่มีความถูกต้อง จึงมีการเรียกใช้ขั้นตอนวิธีต่างๆ ที่มีอยู่ภายใน คลังโปรแกรม jMetal ทำการวิเคราะห์ค่า ทั้งหมดที่มีความเป็นไปได้ที่ได้จากปัญหา ตัวอย่าง เพื่อหารูปแบบคำตอบที่เหมาะสม ที่สุดตามขนาดประชากร (Population Size) ที่กำหนด การวิเคราะห์ผล เมื่อได้ค่าจากขั้นตอนวิธีตามที่ได้ กำหนดจากอัลกอริทึมแล้ว จึงทำการ เปรียบเทียบกับขอบเขตของปัญหาว่า คำตอบ ที่ได้นั้นมีความถูกต้องมากน้อยเพียงใด และ วิเคราะห์ผลว่าควรปล่อยรถในลักษณะใด เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการ มากที่สุด การออกแบบ การออกแบบระบบการทำงาน มีการ แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ การออกแบบปัญหาตัวอย่างการเดิน รถไฟฟ้า จุดมุ่งหมายของการออกแบบปัญหา เพื่อสร้างปัญหาที่มีความสัมพันธ์ระหว่าง ปริมาณรถไฟฟ้าที่ให้บริการในเวลาทำการ และ เวลาการรอเฉลี่ยของผู้โดยสาร ซึ่งมีการ จำลองสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ ปัญหา โดยลักษณะการเดินรถไฟฟ้าในแต่ละ ช่วงเวลาทำการ เป็นตัวกำหนดรูปแบบ เวลา การรอเฉลี่ยที่เหมาะสมของผู้โดยสาร การออกแบบการทดสอบการ แก้ปัญหาการทำงานของปัญหาจาก คลังโปรแกรม jMetal เมื่อได้ปัญหาตัวอย่างที่มีความถูกต้อง จึงมีการเรียกใช้ขั้นตอนวิธีต่างๆ ที่มีอยู่ภายใน คลังโปรแกรม jMetal ทำการวิเคราะห์ค่า ทั้งหมดที่มีความเป็นไปได้ที่ได้จากปัญหา ตัวอย่าง เพื่อหารูปแบบคำตอบที่เหมาะสม ที่สุดตามขนาดประชากร (Population Size) ที่กำหนด การวิเคราะห์ผล เมื่อได้ค่าจากขั้นตอนวิธีตามที่ได้ กำหนดจากอัลกอริทึมแล้ว จึงทำการ เปรียบเทียบกับขอบเขตของปัญหาว่า คำตอบ ที่ได้นั้นมีความถูกต้องมากน้อยเพียงใด และ วิเคราะห์ผลว่าควรปล่อยรถในลักษณะใด เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการ มากที่สุด ผลการทดสอบ การออกแบบปัญหาตัวอย่าง ทำการออกแบบ แบบจำลอง โดยมีการ พัฒนาฟังก์ชั่นจากแบบจำลองและพัฒนา เป็นปัญหาต้นแบบโดยการใช้ภาษา Java หลังจากนั้นจึงได้ทำการทดสอบผลการ ทำงานเพื่อให้ปัญหามีความถูกต้องในการ สร้างชุดข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์การ ทำงานจากคลังโปรแกรม jMetal และ ใช้ เป็นขอบเขตการทำงานเพื่อใช้ในการ ตรวจสอบความถูกต้องของคำตอบที่ได้จาก คลังโปรแกรม jMetal การใช้ขั้นตอนวิธีภายในคลัง โปรแกรม jMetal เมื่อทำการเปลี่ยนแปลง สภาพแวดล้อมของการทำงาน สามารถ สังเกตได้ว่า ผลที่ได้จะมีความแตกต่างกัน ซึ่งเวลาที่ใช้ ปริมาณเที่ยวรถที่ให้บริการใน แต่ละช่วงเวลา มีความแตกต่างกัน แต่มี แนวโน้มตามปัญหาที่ได้ออกแบบ และเมื่อ มีการเปลี่ยนแปลงขั้นตอนวิธีในการทำงาน พบว่า ขั้นตอนวิธีแต่ละแบบมีผลต่อการ กระจายตัวของคำตอบ อีกทั้งการกำหนด ขนาดประชากร (Population size) มีผลต่อ ความถูกต้องของการทำงานของปัญหา ตัวอย่าง การวิเคราะห์ผล การทำงานของคลังโปรแกรม jMetal เมื่อเปรียบเทียบกับขอบเขตของคำตอบ พบว่า อยู่ภายในขอบเขตของคำตอบ แต่ ค่าที่ได้นั้น จะมีความถูกต้องมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับการเลือกใช้ ขั้นตอนวิธี และการ กำหนดพารามิเตอร์ของขั้นตอนวิธีที่ เลือกใช้แก้ปัญหานั้น ผลการทดสอบ การออกแบบปัญหาตัวอย่าง ทำการออกแบบ แบบจำลอง โดยมีการ พัฒนาฟังก์ชั่นจากแบบจำลองและพัฒนา เป็นปัญหาต้นแบบโดยการใช้ภาษา Java หลังจากนั้นจึงได้ทำการทดสอบผลการ ทำงานเพื่อให้ปัญหามีความถูกต้องในการ สร้างชุดข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์การ ทำงานจากคลังโปรแกรม jMetal และ ใช้ เป็นขอบเขตการทำงานเพื่อใช้ในการ ตรวจสอบความถูกต้องของคำตอบที่ได้จาก คลังโปรแกรม jMetal การใช้ขั้นตอนวิธีภายในคลัง โปรแกรม jMetal เมื่อทำการเปลี่ยนแปลง สภาพแวดล้อมของการทำงาน สามารถ สังเกตได้ว่า ผลที่ได้จะมีความแตกต่างกัน ซึ่งเวลาที่ใช้ ปริมาณเที่ยวรถที่ให้บริการใน แต่ละช่วงเวลา มีความแตกต่างกัน แต่มี แนวโน้มตามปัญหาที่ได้ออกแบบ และเมื่อ มีการเปลี่ยนแปลงขั้นตอนวิธีในการทำงาน พบว่า ขั้นตอนวิธีแต่ละแบบมีผลต่อการ กระจายตัวของคำตอบ อีกทั้งการกำหนด ขนาดประชากร (Population size) มีผลต่อ ความถูกต้องของการทำงานของปัญหา ตัวอย่าง การวิเคราะห์ผล การทำงานของคลังโปรแกรม jMetal เมื่อเปรียบเทียบกับขอบเขตของคำตอบ พบว่า อยู่ภายในขอบเขตของคำตอบ แต่ ค่าที่ได้นั้น จะมีความถูกต้องมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับการเลือกใช้ ขั้นตอนวิธี และการ กำหนดพารามิเตอร์ของขั้นตอนวิธีที่ เลือกใช้แก้ปัญหานั้น ประโยชน์ที่ได้รับ 1. เข้าใจรูปแบบปัญหาหลาย จุดประสงค์ และการใช้ ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์ในการแก้ปัญหา 2. สามารถเปรียบเทียบขั้นตอนวิธีที่ เหมาะกับปัญหาตัวอย่างจากคลัง โปรแกรม jMetal เพื่อประยุกต์ใช้งาน ประโยชน์ที่ได้รับ 1. เข้าใจรูปแบบปัญหาหลาย จุดประสงค์ และการใช้ ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์ในการแก้ปัญหา 2. สามารถเปรียบเทียบขั้นตอนวิธีที่ เหมาะกับปัญหาตัวอย่างจากคลัง โปรแกรม jMetal เพื่อประยุกต์ใช้งาน