เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
BC421 File and Database Lab
Advertisements

เทคโนโลยีฐานข้อมูลสำนักงาน
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
จัดการฐานข้อมูลด้วย Microsoft Access 2007
E-R Model บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต.
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
บทที่ 5 แบบจำลองข้อมูลสำหรับคลังข้อมูล Part 3 (Data Modeling for Data Warehouse) Data Warehouse Design.
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
การเขียนผังงาน.
โดย นางสาวเขมณัฏฐ์ อำนวยวรชัย รหัสนิสิต
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Functional Programming
Class Diagram.
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์
โครงงานวิชาคณิตศาสตร์
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
ภาษา SQL (Structured Query Language)
Object-Oriented Analysis and Design
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
บทที่ 6 สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะและการ วิเคราะห์นโยบาย
บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต
SCC : Suthida Chaichomchuen
Databases Design Methodology
การออกแบบแบบจำลองข้อมูล
การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ บทที่ 5 การพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วย MS Visual Basic 2010 ปริญญา น้อยดอนไพร สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ทบทวน การออกแบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
Chapter 2 Database systems Architecture
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ความรู้พื้นฐานในการออกแบบ ฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
Charter 8 1 Chapter 8 การจัดการฐานข้อมูล Database Management.
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3 โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
Flow Chart INT1103 Computer Programming
Data Modeling Chapter 6.
System Analysis and Design
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
1. ศัพท์พื้นฐานของฐานข้อมูล
การพัฒนาระบบงานโดยเทคนิคเชิงโครงสร้าง
A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 6 คำสั่งเงื่อนไข.
Introduction to Database
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
บทที่ 2 การวิจัยผู้บริโภค
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
บทสรุป ระดับของข้อมูล มีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลเป็น 3 ระดับ
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา 204204 การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูล บทที่ 3 สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล

วัตถุประสงค์รายครั้ง นักศึกษาสามารถ อธิบายโครงสร้างสถาปัตยกรรมสามระดับได้อย่างถูกต้อง บอกประเภทความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลได้อย่างถูกต้อง

หัวข้อการสอน สคีมา และ Instance สถาปัตยกรรมสามระดับ ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล

สคีมา และ Instance สคีมา (Schema) หมายถึง โครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูล Instance หมายถึง เนื้อข้อมูลที่เก็บอยู่ในโครงสร้างข้อมูล

สถาปัตยกรรมสามระดับ กำหนดมาตรฐานโดย ANSI (American National Standards Institute) ในปี 1975 ประกอบด้วย ระดับภายนอก (External level) ระดับความคิด (Concept level) ระดับภายใน (Internal level)

ระดับความคิด (Concept level) วิเคราะห์ความต้องการ ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล แช้วนำมาเขียนสคีมา (Schema) สคีมาระดับเชิงมโนภาพ (Conceptual schemas level) จะเป็นตัวเชื่อมระหว่างสคีมาระดับภายนอกกับระดับภายใน สคีมาที่ได้จะเป็น logical schema

ระดับภายใน (Internal level) เป็นการจัดเก็บข้อมูลจริง ๆ ในหน่วยความจำ สคีมาระดับภายใน (Internal schemas level) จะอธิบายฐานข้อมูลทางกายภาพจริง ๆ

ระดับภายนอก (External Level) หน้าต่างหรือวิว (view) ที่ผู้ใช้ภายนอกมีสิทธิเข้าไปใช้ได้ โปรแกรมจะมองเห็นโครงสร้างข้อมูลเพียงบางส่วนเท่านั้น สคีมาระดับภายนอก (External Schema) เป็นการแสดงข้อมูลที่ถูกดึงมาจากฐานข้อมูลที่อยู่ในระดับแนวคิดเฉพาะส่วนที่ต้องการ

ความเป็นอิสระของข้อมูล ความไม่พึ่งพิงทางตรรกะ (Logical Data Independence) สคีมาระดับภายนอกจะมีรูปแบบที่คงที่ไม่เปลี่ยนแปลงไป แม้จะมีการเปลี่ยนสคีมาระดับเชิงมโนภาพ ความไม่พึ่งพิงทางกายภาพ (Physical Data Independence) สคีมาระดับเชิงมโนภาพจะมีรูปแบบที่คงที่แม้จะมีการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ

ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล แบบ Mandatory ต้องมี (must be) แทนด้วยเส้นทึกหรือเส้นตรง 2 เส้น แบบ Optional อาจจะมี (may be) แทนด้วยเส้นตรงประ หรือเส้นตรง 1 เส้น

ชนิดความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล แบบ 1 : 1 (one to one) แบบ 1 : m (one to many) แบบ m : 1 (many to one) แบบ m : n (many to many)