วัดตัวแปร(ตาม)การวิจัยในชั้นเรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
Advertisements

บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
กับการสร้างหน่วยการเรียนรู้
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การวิจัย RESEARCH.
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
หลักการพัฒนา หลักสูตร
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
Quality Testing of Tests การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
การติดตาม และประเมินโครงการ.
4. Research tool and quality testing
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การวิจัยในชั้นเรียน ครูบรรจุใหม่
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
การวัดผล (Measurement)
แบบสอบถาม แบบทดสอบ แบบสัมภาษณ์ จิตพิสัย พุทธิพิสัย เครื่องมือที่ใช้
การออกแบบสร้างนวัตกรรม สำหรับการวิจัยในชั้นเรียน
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ความหมายของวิทยาศาสตร์
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
สื่อประกอบการสอน รายวิชา วิธีวิจัยวิทยาทางนิเทศศาสตร์ COMM (3-0- 6)____________________________________________________________________________________________.
ผลแห่งความสำเร็จ 3 ห หลักเกณฑ์ หลักการ หลักฐาน.
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
การวัดและประเมินผล การเรียนรู้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
ADDIE Model.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วัดตัวแปร(ตาม)การวิจัยในชั้นเรียน การสร้างเครื่องมือ วัดตัวแปร(ตาม)การวิจัยในชั้นเรียน

วิธีการที่ผู้วิจัยใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ตัวแปร(ตาม) ในการวิจัยครั้งนั้น เครื่องมือวัดตัวแปร วิธีการที่ผู้วิจัยใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ตัวแปร(ตาม) ในการวิจัยครั้งนั้น อาทิ สังเกต สัมภาษณ์ สอบถาม ทดสอบ ประเมิน ฯลฯ

คุณลักษณะสำคัญของเครื่องมือ ความเที่ยง (Reliability) ความตรง (Validity) ความเที่ยง (Reliability)

: วัดได้ตรงกับสิ่งที่ต้องการวัด (เนื้อหา) ความตรง (Validity) : วัดได้ตรงกับสิ่งที่ต้องการวัด (เนื้อหา) BB: วัดได้ตรงกับความเป็นจริง (สภาพจริงของสิ่งนั้น) CC: วัดได้ตรงกับแนวคิด ทฤษฏีที่ใช้วิจัย

ความเที่ยง (Reliability) ถ้าสภาพของสิ่งนั้นไม่เปลี่ยนไป วัดกี่ครั้งๆ ก็จะได้ค่าเท่าเดิม ประเด็นสิ่งที่วัดในเครื่องมือ มีความสอดคล้องกัน-วัดในสิ่งเดียวกัน

กระบวนการสร้างเครื่องมือวัดตัวแปร 1.วิเคราะห์ตัวแปร(ตาม)ที่จะวัด ตัวแปร เป็นพฤติกรรมในกลุ่มใด ความรู้-ความคิด (Cognitive) จิตใจ-ความรู้สึก (Affective) ทักษะปฏิบัติ(Psychomotor)

ตัวแปรความรู้-ความคิด (Cognitive) รู้ เข้าใจ.......... คิดวิเคราะห์ ความคิดรวบยอด คิดฯ....

ตัวแปรจิตพิสัย-ความรู้สึก (Affectiive) เจตคติ ความซื่อสัตย์ ความมีวินัย ความกระตือรือร้น ความพึงพอใจ

ตัวแปรทักษะพิสัย (Psychomotor) ทักษะปฏิบัตงาน ทักษะทางกีฬา.. กระบวนการทำงาน ความคล่องแคล่ว

2.ศึกษาหาวิธีการที่เหมาะสม เครื่องมือ ความรู้ ความคิด (Cognitive) ทดสอบ - ปรนัย - อัตนัย

เครื่องมือ ตัวแปรจิตพิสัย-ความรู้สึก (Affectiive) เจตคติ ความซื่อสัตย์ - สังเกต - มาตรวัด(Scale) ประเมินตนเอง ตรวจสอบรายการ ความซื่อสัตย์ ความมีวินัย ความกระตือรือร้น

ตัวแปรทักษะพิสัย (Psychomotor) เครื่องมือ ทักษะปฏิบัตงาน - สังเกต ตรวจสอบรายการ ปฏิบัติจริง ทักษะทางกีฬา.. กระบวนการทำงาน ความคล่องแคล่ว

3. เลือกรูปแบบของเครื่องมือวัด ตัวแปร: ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ เครื่องมือ: แบบทดสอบ

4. กำหนดรายละเอียดของเครื่องมือวัดและเกณฑ์ สิ่งที่ประเมิน รายการ รายการย่อ - เกณฑ์ ทักษะพื้นฐานทาง คณิตศาสตร์ การสังเกต จำแนก สังเกต จำแนกสิ่งของได้ถูกต้อง 1 – 4 รายการ : ปรับปรุง 5 – 7 รายการ : พอใช้ 8 – 10 รายการ : ดี การเปรียบเทียบขนาดและรูปร่าง เปรียบเทียบขนาดและรูปร่างได้ถูกต้อง การจัดหมวดหมู่และจำแนกความสัมพันธ์ จัดหมวดหมู่และจำแนกความสัมพันธ์ ได้ถูกต้อง  1 – 4 รายการ : ปรับปรุง

5. สร้างเครื่องมือตามโครงสร้างรายละเอียดที่กำหนด แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์

6. เสนอให้ผู้รู้/เชี่ยวชาญด้านการวัด พิจารณา ตรวจสอบ ความตรงตามเนื้อหา ความตรงตามโครงสร้าง

หาความตรงตามสภาพการณ์ ความยาก-ง่าย/อำนาจจำแนก แบบทดสอบด้านความรู้-ความคิด ควรทดลองใช้ หาความตรงตามสภาพการณ์ ความยาก-ง่าย/อำนาจจำแนก

7. ปรับปรุง ให้มีคุณภาพที่เหมาะสม 8. จัดทำฉบับสมบูรณ์และ นำไปใช้ตามแผนการวิจัยที่กำหนด