วัดตัวแปร(ตาม)การวิจัยในชั้นเรียน การสร้างเครื่องมือ วัดตัวแปร(ตาม)การวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการที่ผู้วิจัยใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ตัวแปร(ตาม) ในการวิจัยครั้งนั้น เครื่องมือวัดตัวแปร วิธีการที่ผู้วิจัยใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ตัวแปร(ตาม) ในการวิจัยครั้งนั้น อาทิ สังเกต สัมภาษณ์ สอบถาม ทดสอบ ประเมิน ฯลฯ
คุณลักษณะสำคัญของเครื่องมือ ความเที่ยง (Reliability) ความตรง (Validity) ความเที่ยง (Reliability)
: วัดได้ตรงกับสิ่งที่ต้องการวัด (เนื้อหา) ความตรง (Validity) : วัดได้ตรงกับสิ่งที่ต้องการวัด (เนื้อหา) BB: วัดได้ตรงกับความเป็นจริง (สภาพจริงของสิ่งนั้น) CC: วัดได้ตรงกับแนวคิด ทฤษฏีที่ใช้วิจัย
ความเที่ยง (Reliability) ถ้าสภาพของสิ่งนั้นไม่เปลี่ยนไป วัดกี่ครั้งๆ ก็จะได้ค่าเท่าเดิม ประเด็นสิ่งที่วัดในเครื่องมือ มีความสอดคล้องกัน-วัดในสิ่งเดียวกัน
กระบวนการสร้างเครื่องมือวัดตัวแปร 1.วิเคราะห์ตัวแปร(ตาม)ที่จะวัด ตัวแปร เป็นพฤติกรรมในกลุ่มใด ความรู้-ความคิด (Cognitive) จิตใจ-ความรู้สึก (Affective) ทักษะปฏิบัติ(Psychomotor)
ตัวแปรความรู้-ความคิด (Cognitive) รู้ เข้าใจ.......... คิดวิเคราะห์ ความคิดรวบยอด คิดฯ....
ตัวแปรจิตพิสัย-ความรู้สึก (Affectiive) เจตคติ ความซื่อสัตย์ ความมีวินัย ความกระตือรือร้น ความพึงพอใจ
ตัวแปรทักษะพิสัย (Psychomotor) ทักษะปฏิบัตงาน ทักษะทางกีฬา.. กระบวนการทำงาน ความคล่องแคล่ว
2.ศึกษาหาวิธีการที่เหมาะสม เครื่องมือ ความรู้ ความคิด (Cognitive) ทดสอบ - ปรนัย - อัตนัย
เครื่องมือ ตัวแปรจิตพิสัย-ความรู้สึก (Affectiive) เจตคติ ความซื่อสัตย์ - สังเกต - มาตรวัด(Scale) ประเมินตนเอง ตรวจสอบรายการ ความซื่อสัตย์ ความมีวินัย ความกระตือรือร้น
ตัวแปรทักษะพิสัย (Psychomotor) เครื่องมือ ทักษะปฏิบัตงาน - สังเกต ตรวจสอบรายการ ปฏิบัติจริง ทักษะทางกีฬา.. กระบวนการทำงาน ความคล่องแคล่ว
3. เลือกรูปแบบของเครื่องมือวัด ตัวแปร: ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ เครื่องมือ: แบบทดสอบ
4. กำหนดรายละเอียดของเครื่องมือวัดและเกณฑ์ สิ่งที่ประเมิน รายการ รายการย่อ - เกณฑ์ ทักษะพื้นฐานทาง คณิตศาสตร์ การสังเกต จำแนก สังเกต จำแนกสิ่งของได้ถูกต้อง 1 – 4 รายการ : ปรับปรุง 5 – 7 รายการ : พอใช้ 8 – 10 รายการ : ดี การเปรียบเทียบขนาดและรูปร่าง เปรียบเทียบขนาดและรูปร่างได้ถูกต้อง การจัดหมวดหมู่และจำแนกความสัมพันธ์ จัดหมวดหมู่และจำแนกความสัมพันธ์ ได้ถูกต้อง 1 – 4 รายการ : ปรับปรุง
5. สร้างเครื่องมือตามโครงสร้างรายละเอียดที่กำหนด แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
6. เสนอให้ผู้รู้/เชี่ยวชาญด้านการวัด พิจารณา ตรวจสอบ ความตรงตามเนื้อหา ความตรงตามโครงสร้าง
หาความตรงตามสภาพการณ์ ความยาก-ง่าย/อำนาจจำแนก แบบทดสอบด้านความรู้-ความคิด ควรทดลองใช้ หาความตรงตามสภาพการณ์ ความยาก-ง่าย/อำนาจจำแนก
7. ปรับปรุง ให้มีคุณภาพที่เหมาะสม 8. จัดทำฉบับสมบูรณ์และ นำไปใช้ตามแผนการวิจัยที่กำหนด