คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
Advertisements

การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
การแก้สมการที่เกี่ยวกับ เลขยกกำลัง
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน มัธยมศึกษาปีที่ 1
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ครูอิงครัต กังวาลย์ โรงเรียนทุ่งสง
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
 การสอนแบบอภิปราย.
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การประเมินผลการเรียน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
เศษส่วน.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเขียนแผนการสอน ด้านปฏิบัติ 14. นายบัญญัติ สมสุพรรณ ครูเชี่ยวชาญ
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การแจกแจงปกติ.
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
รูปแบบการสอน.
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ความหมายของวิทยาศาสตร์
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ครูปพิชญา คนยืน. สถิติ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 7 ครูปพิชญา คนยืน จากฮิสโทแกรม แสดงค่าใช้จ่าย ต่อเดือนของ นักเรียน จงตอบคำถาม ต่อไปนี้
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
กรอบเนื้อหาการพัฒนา เนื้อหาหลักสูตรชั่วโมง 1. ส่วนที่ 1 การพัฒนาสมรรถนะ 180 ระยะที่ 1  คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ระยะที่ 1  คุณลักษณะที่พึงประสงค์  ภาวะผู้นำทางวิชาการ.
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนที่ 7
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
ครูปพิชญา คนยืน. สถิติ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 7 ครูปพิชญา คนยืน จงสร้างตารางแจก แจงความถี่ของ ข้อมูลต่อไปนี้ โดย กำหนดให้มี 5 ชั้น และหาขอบล่าง, ขอบบน.
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
ผู้วิจัย นางกรุณา อุประดิษฐ์
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1.อธิบายความหมายของมัธยฐานได้ 2.หาค่ามัธยฐานของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่ 3.หาค่ามัธยฐานของข้อมูลที่แจกแจงความถี่ 4.อ่าน แปลความหมาย และวิเคราะห์ข้อมูลได้ หัวข้อเรื่อง 1.หาค่ามัธยฐานของข้อมูลธรรมดา (ไม่แจกแจงความถี่)ได้ 2.หาค่ามัธยฐานของข้อมูลที่แจกแจงความถี่ (อันตรภาคชั้น)ได้

สาระสำคัญ 1.ให้นักเรียนสามารถหาค่าตำแหน่งของมัธยฐานโดยใช้สูตร ถ้าข้อมูลเป็นข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ 2.ให้นักเรียนสามารถหาค่ามัธยฐานของข้อมูลที่แจกแจงความถี่ได้โดยใช้สูตร Med =

สมรรถนะที่พึงประสงค์ (ความรู้/ทักษะ กระบวนการ/คุณลักษณะ) 2.1 ด้านความรู้ : นักเรียนสามารถ 1. วิเคราะห์ข้อมูลได้ 2. คำนวณหาค่ามัธยฐานของข้อมูลโดยสามารถนำสูตรมาใช้ได้อย่างถูกต้อง 3. แปลความหมายข้อมูลได้ 2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ : นักเรียนมีความสามารถ 1. นำเสนอข้อมูลในรูปกราฟต่างๆได้ 2. แปลความหมายและรู้จักสังเกต 3. ใช้ทักษะคำนวณได้อย่างถูกต้อง 2.3 ด้านคุณลักษณะ 1. รู้จักรับผิดชอบ 2. มีความร่วมมือทำงานกลุ่มได้ 3. กล้าแสดงความคิดเห็น/แสดงออก

สาระการเรียนรู้ มัธยฐาน คือ ค่าที่อยู่กึ่งกลางของข้อมูลทั้งหมด ซึ่งเมื่อเรียงข้อมูลจากน้อยไปหามาก หรือจากมากไปหาน้อย ค่ามัธยฐานก็จะอยู่กึ่งกลาง เช่น 4,7,14,15,18,20,30 มัธยฐาน คือ 15

สาระการเรียนรู้ (ต่อ) ถ้าจำนวนข้อมูลชุดนั้นเป็นจำนวนคู่ ค่ามัธยฐานจะอยู่ที่ 2 ตำแหน่ง ให้นักเรียนนำค่า 2 ค่ามาบวกกันแล้วหารด้วย 2 เช่น 0,2,2,6,9,14,18,26,26,28 มัธยฐาน คือ = = 11.5 ให้นักเรียนหาตำแหน่งมัธยฐานของข้อมูลชุดแรกโดยการใช้สูตร = ตำแหน่งที่ = 4 คือ 15

ตัวอย่าง จากข้อมูลข้างล่าง จงหาค่ามัธยฐานของข้อมูล อันตรภาคชั้น จากข้อมูลข้างล่าง จงหาค่ามัธยฐานของข้อมูล อันตรภาคชั้น ความถี่(f) ความถี่สะสม(F) ขอบล่าง-ขอบบน 150-154 155-159 160-164 5 11 16f 16F 32 149.5-154.5 154.5-159.5 L159.5-164.5 165-169 170-174 175-179 17 8 3 49 57 60 164.5-169.5 169.5-174.5 174.5-179.5 N=

ตัวอย่าง วิธีทำ 1.ให้นักเรียนหา = =30 วิธีทำ 1.ให้นักเรียนหา = =30 ให้นักเรียนไปพิจารณาที่ช่องความถี่สะสม(F) ให้สังเกตว่า 30 อยู่ใน 32 ให้นักเรียนใช้ค่าต่างๆ เพื่อไปแทนค่าในสูตร Med = เมื่อ L คือ ขอบล่างของข้อมูลที่มัธยฐานตกอยู่ให้ดูที่ F คือ ความถี่สะสมของชั้นที่ต่ำกว่าชั้นที่มีมัธยฐานตกอยู่ f คือ ความถี่ของชั้นที่มีมัธยฐาน I คือ ความกว้างของอันตรภาคชั้น

ตัวอย่าง แทนค่าในสูตร = 30 F = 16 f = 16 I = 5 L = 159.5 Med = = = 159.5+4.38 =163.88 ค่ามัธยฐาน คือ 163.88 หรือประมาณ 164 Ans.

กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นนำ 1.ครูสุ่มเรียกนักเรียนออกมาหน้าชั้น 5 คนแล้วให้นักเรียนยืนเข้าแถวโดยเรียงตามลำดับความสูง แล้วให้นักเรียนหาค่ามัธยฐานโดยใช้วิธีการสังเกต แล้วครูใช้คำถามกระตุ้นให้นักเรียนคิดแล้วตอบว่าเพราะสาเหตุใด นักเรียนจึงเลือกคนที่ 3 เป็นค่ากลาง(มัธยฐาน) 2.ครูเรียกนักเรียนออกมาเพิ่ม 1 คน รวมเป็น 6 คน แล้วให้นักเรียนจัดแถวเรียงตามลำดับความสูงอีกครั้ง แล้วถามว่านักเรียนสังเกตได้หรือไม่ว่าค่ากลางมี 2 ค่า นักเรียนจะหาวิธีคิดอย่างไร เมื่อนักเรียนตอบครูสรุปหลักการในการคิด 3.ครูเขียนข้อมูลที่เป็นอันตรภาคชั้นบนกระดานแล้วใช้การถาม-ตอบว่า ถ้าข้อมูลเป็นอันตรภาคชั้น นักเรียนจะหาวิธีคิดอย่างไร ครูอธิบายตัวอย่างประกอบ นักเรียนต้องรู้จักสังเกต

กิจกรรมการเรียนการสอน (ต่อ) ขั้นสอน 1.ครูยกตัวอย่างข้อมูล (ใช้ตัวอย่างที่ 1) อธิบายพร้อมให้นักเรียนจัดลำดับการคิดอย่างมีขั้นตอน เมื่อนักเรียนเข้าใจแล้วครูแจกใบงานที่ 1 เพื่อให้นักเรียนฝึกปฏิบัติให้ถูกต้องตามตัวอย่าง โดยให้นักเรียนเลียนแบบตามตัวอย่าง แล้วศึกษาให้เข้าใจแล้วครูสรุปสูตรด้วยเพลง ดังนี้ มัธยฐานของเรานั้นๆ มีหลักเกณฑ์นี้หนา หาเอ็นส่วนสองนั้นก่อน(ซ้ำ) ตามด้วยแอลบวกไอ(ซ้ำ) วงเล็บเปิดเอ็นส่วนสอง ลบเอฟใหญ่ส่วนเอฟเล็ก 2.เมื่อนักเรียนเข้าใจกระบวนการคิดและเข้าใจการใช้สูตรในการหาค่ามัธยฐาน ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มตั้งใจที่เป็นอันตรภาคชั้น แล้วให้นักเรียนหาค่ามัธยฐานตามความเข้าใจ

กิจกรรมการเรียนการสอน (ต่อ) 3.นักเรียนสรุปหลักเกณฑ์การหาค่ามัธยฐาน และการหาคำตอบ 3.1มัธยฐานของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่หาได้ดังนี้ 1.เรียงค่าของข้อมูลจากมากไปหาน้อย หรือจากน้อยไปหามาก 2.หาตำแหน่งของมัธยฐาน คือ 3.ค่ามัธยฐานจะอยู่ตำแหน่งที่ 3.2มัธยฐานของข้อมูลที่แจกแจงความถี่หาได้ดังนี้ 1.หาความถี่สะสม 2.หา แล้วพิจารณาค่า อยู่ในช่วงความถี่สะสมของอันตรภาคชั้นใด 3.ใช้สูตร Med =

กิจกรรมการเรียนการสอน (ต่อ) 4.ครูให้นักเรียนทำการบ้าน 5.สื่อการสอน/แหล่งการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนประยุกต์ 2 2.ใบงานที่ 1 6.การวัดและประเมินผล การวัดผล การประเมินผล 1.ประเมินการปฎิบัติงานด้วยแบบประเมินพฤติกรรม แบบประเมิน 2.ประเมินการทำงานเป็นทีม 3.ประเมินผลงานที่ทำตามความสนใจ