เศรษฐกิจ พอเพียง
เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตน ปรัชญาพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตน ของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับ ครอบครัวระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศ ให้ดำเนินไปใน ทางสายกลาง
ทางสายกลาง คำนิยามความพอเพียง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัว
การปฏิบัติตามแนวทางเศรษฐกิจ มี 5 อย่างด้วยกันคือ พอเพียง
การปฏิบัติตนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 1. ยึดความประหยัด ดังพระราชดำรัสว่า ความเป็นอยู่ที่ต้องไม่ฟุ้งเฟ้อ ต้องประหยัดไปในทางที่ถูกต้อง " "
การปฏิบัติตนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 2. ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต ความเจริญของคนทั้งหลายย่อมเกิดมาจาก การประพฤติชอบและการหาเลี้ยงชีพ ของตนเป็นหลักสำคัญ " "
การปฏิบัติตนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 3. ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์ ซึ่งมีพระราชดำรัสเรื่องนี้ว่า " ความเจริญอันแท้จริงนั้น หมายถึง ความสุขความเจริญที่บุคคล แสวงหามาได้ด้วยความเป็นธรรม "
การปฏิบัติตนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 4. ไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางในชีวิตหลุดพ้นจาก ความทุกข์ยากพระราชดำรัส ตอนหนึ่งที่ให้ความชัดเจนว่า " การที่ต้องการให้ทุกคนพยายามที่ จะหาความรู้ และสร้างตนเองให้มั่นคงนี้เพื่อตนเอง "
การปฏิบัติตนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 5. ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดีลดละสิ่งยั่วกิเลสให้หมดสิ้นไป พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราโชวาทว่า " พยายามไม่ก่อความชั่วให้เป็น เครื่องทำลายตัว ทำลายผู้อื่น "
การดำเนินชีวิตในระบบ เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ
การดำเนินชีวิตในระบบเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ 1 แบ่งออกเป็น 2 ระบบ 2 เศรษฐกิจพอเพียง ระดับบุคคลทั่วไป เศรษฐกิจพอเพียง ระดับเกษตรกร 1 2
1. เศรษฐกิจพอเพียงระดับบุคคลทั่วไป การดำเนินชีวิตในระบบเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ 1. เศรษฐกิจพอเพียงระดับบุคคลทั่วไป เป็นความสามารถในการดำรงชีวิต อย่างไม่เดือดร้อน มีความเป็นอยู่อย่างพอประมาณตน ตามฐานะ
2. เศรษฐกิจพอเพียงระดับเกษตรกร การดำเนินชีวิตในระบบเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ 2. เศรษฐกิจพอเพียงระดับเกษตรกร เกษตรกรจะใช้ความรู้ในการบริหารจัดการที่ดิน และกิจกรรมการเกษตร และความต้องการของเกษตรกรเอง
แนวคิดระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียง สำหรับเกษตรกร
มีความพอเพียง เลี้ยงตัวเอง ได้บนพื้นฐานของความประหยัด ขจัดการใช้จ่าย แนวคิดระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียงสำหรับเกษตรกร ขั้นที่ 1 มีความพอเพียง เลี้ยงตัวเอง ได้บนพื้นฐานของความประหยัด ขจัดการใช้จ่าย
รวมพลังกันในรูปกลุ่ม เพื่อทำการผลิต แนวคิดระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียงสำหรับเกษตรกร ขั้นที่ 2 รวมพลังกันในรูปกลุ่ม เพื่อทำการผลิต การตลาด การจัดการ รวมทั้งด้าน สวัสดิการ การศึกษา การพัฒนาสังคม ฯลฯ
สร้างเครือข่ายกลุ่มอาชีพและขยายกิจกรรมทาง แนวคิดระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียงสำหรับเกษตรกร ขั้นที่ 3 สร้างเครือข่ายกลุ่มอาชีพและขยายกิจกรรมทาง เศรษฐกิจให้หลากหลาย โดยประสานความร่วมมือ กับภาคธุรกิจ ภาคองค์กรพัฒนาเอกชน และภาคราชการ
ความหลากหลายของกิจกรรม การเกษตรในไร่นา
ข้าว ความหลากหลายของกิจกรรมการเกษตรในไร่นา พืชอาหารหลักของคนไทย สำหรับบริโภคในครอบครัว และเป็นอาชีพหลักของคนไทย
แหล่งน้ำ ความหลากหลายของกิจกรรมการเกษตรในไร่นา แหล่งน้ำในไร่นาและเลียงสัตว์น้ำ
พืชผัก ความหลากหลายของกิจกรรมการเกษตรในไร่นา ใช้บริโภคในครัวเรือน ช่วยลดรายจ่ายประจำวัน
พืชสมุนไพร ความหลากหลายของกิจกรรมการเกษตรในไร่นา เป็นอาหารและยาพื้นบ้าน
ไม้ยืนต้นและไม้ใช้สอย ความหลากหลายของกิจกรรมการเกษตรในไร่นา ไม้ยืนต้นและไม้ใช้สอย ใช้เป็นไม้ฟืน ทำโรงเรือนและเครื่องจักสาน
เลี้ยงสัตว์ ความหลากหลายของกิจกรรมการเกษตรในไร่นา แหล่งอาหารโปรตีนและเสริมรายได้
ไม้ดอกไม้ประดับ ความหลากหลายของกิจกรรมการเกษตรในไร่นา เพื่อความสวยงาม พักผ่อนจิตใจและเสริมรายได้
ปุ๋ยหมัก N - P - K ความหลากหลายของกิจกรรมการเกษตรในไร่นา บำรุงดิน รักษาสมดุลธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม N - P - K
สรุปหลักการประยุกต์ทฤษฎีใหม่ สำหรับเศรษฐกิจพอเพียง ขนาดพื้นที่ทำการเกษตรประมาณ 10-15 ไร่ 2. ทฤษฎีใหม่ขั้นที่หนึ่ง ทำการผลิตกิจกรรมการเกษตร พืช สัตว์ และประมงในไร่นา 3. มีข้าวพอเพียงในการบริโภคในครัวเรือน 4. ปัจจัยสำคัญคือการจัดการที่ดิน แหล่งน้ำ พันธุ์พืชพันธุ์สัตว์ แรงงานและการลงทุนในไร่นา 5. ในขั้นที่สอง เกษตรกรรวมกลุ่มมุ่งเพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 6. ในขั้นที่หนึ่งการแบ่งสัดส่วนของพื้นที่ในอัตราส่วน 30:30:30:10 7. ในขั้นที่สาม เมื่อชุมชนหรือกลุ่มเข้มแข็งจึงร่วมกับคน ภายนอกค้าขายและสร้างเครือข่ายเศรษฐกิจ 8. ด้วยหลักของทฤษฎีใหม่จะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน 9. สร้างประโยชน์ร่วมกัน สรุปหลักการประยุกต์ทฤษฎีใหม่ สำหรับเศรษฐกิจพอเพียง
เนื่องในวโรกาสที่พระองค์ท่านมีพระชนมายุครบ 80 พรรษา ข้าพเจ้าขอปฏิญาณตนว่า " ข้าพเจ้าจะดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง และรณรงค์การปลูกต้นไม้ทดแทนตามพระราชดำริของพระองค์ท่าน
อาจารย์ จิตรากาญ ขำทองระย้า ด.ช. ปัญจวัตร์ ก๊กมาศ ด.ญ. ผาณิตา อภิมนต์บุตร ผู้จัดทำ ที่ปรึกษา ผู้จัดทำ ที่ปรึกษา อาจารย์ จิตรากาญ ขำทองระย้า
THE END ขอบคุณครับ/ค่ะ