ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐาจข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
Interactive E-learning
บริการผลการศึกษาทันใจกับ สทป.
The Development of Document Management System with RDF
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
รายงานการวิจัย.
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
หน่วย 6 การพัฒนาสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การประเมินคุณภาพสารสนเทศ
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
ระบบสารสนเทศประมวณผลรายการธุรกรรม
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ บทที่ 2.
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
ฐานข้อมูลปูชนีย์วลัยลักษณ์ ปูชนียาจารย์
ระบบข้อสอบออนไลน์.
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
เมนูเรื่องเทคโนโลยี.
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การพัฒนาโปรแกรมระบบสารสนเทศสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษา
การเขียนรายงานการวิจัย
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
หมวดที่ 5 การวัดผลและการประเมิน
หมวดที่ 2 การลงทะเบียนเรียน
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายวิชาภาคปฏิบัติ
การเพิ่มผลผลิต Productivity
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
Geographic Information System
(Transaction Processing Systems)
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ.
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
ฐานข้อมูล Data Base.
1. ความหมายฐานข้อมูล 2. โครงสร้างของฐานข้อมูล
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
การจัดการฐานข้อมูล.
บทที่ 2 การจัดการสารสนเทศ.
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
ผู้เข้าร่วมโครงการ Site Visit ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
Chapter 1 : Introduction to Database System
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
ปัญหาการวิจัย วิชา MIS เป็นวิชาที่เน้นทฤษฎีแต่ถูกจัดให้เรียนในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ซึ่งนักศึกษาส่วนหนึ่งขาดความสนใจ เล่นเฟสบุ๊ค (Face book) ในขณะที่ครูสอนและทุกครั้งที่มีโอกาส.
แผนภูมิองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศมีลักษณะอย่างไร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
แผนภูมิองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสามารถนำไปประยุกต์ในด้านต่างๆได้
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนักเรียน-นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางอรอนงค์ ชูศรี
เทคโนโลยี สารสนเทศและ การสื่อสาร สามารถนำไป ประยุกต์ในด้าน ต่างๆ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐาจข้อมูล อ.นนทชัย กันเพ็ชร

เมื่อ กล่าวถึงระบบฐานข้อมูล คำว่า “ ข้อมูล ” คือสิ่งที่จะต้องพิจารณาก่อน สิ่งอื่นใด ความหมายของคำว่า ข้อมูล (data) คือ ข้อเท็จจริง ต่าง ๆ ซึ่ง ต่อไปก็จะถูกนำมาประมวลผลนั่นเอง หรือ อาจ จะ เรียกว่าเป็นวัตถุดิบ เมื่อ ข้อมูลถูกนำมาประมวล เช่น การจัด เรียง การ แยก กลุ่มจัดกลุ่ม การ เชื่อมโยง หรือการคิด คำนวณ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ และ ต่อมาก็ จัดให้อยู่ใน รูปแบบที่ใช้ประโยชน์ได้ ง่าย เรียกว่าเป็น “ สารสนเทศ ” กล่าวโดยสรุป สารสนเทศ ( information) ก็คือข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว ตัวอย่างเช่น ข้อมูลของคะแนนสอบของรายวิชาต่าง ๆ ซึ่งจะถูกนำมา ประมวลเป็นเกรดของนิสิตแต่ละคนในแต่ละภาคการศึกษา แล้วนำเกรดที่ ได้มาคำนวณเกรดเฉลี่ย เพื่อนำไปตรวจสอบสถานภาพเพื่อแจ้งสภาพของ นิสิตต่อไป ลักษณะของสารสนเทศที่ดี ควรจะมีองค์ประกอบใน 4 ลักษณะ ต่อไปนี้

1. ต้อง มีค่า ถูกต้อง เที่ยงตรง (Correctness and relevant) สารสนเทศที่ ถูกต้องและไม่ผิดพลาด จะทำให้ ผู้ ใ ช้ ได้ข้อมูลสมบูรณ์ และสามารถ ทำงานในส่วนของตน รับผิดชอบได้อย่างเต็มความสามารถไม่ต้องกังวลว่า ได้รับข้อมูลที่ผิดพลาด ระบบสารสนเทศ ที่มีความ ถูกต้องเที่ยงตรงเหล่า นั้นก็จะถูกจัดว่าเป็นระบบที่มี ประสิทธิภาพ

2. สารสนเทศ เป็นปัจจุบัน (current) ข้อมูล ที่จะนำมาเปลี่ยนสภาพเป็นสารสนเทศ อาจ จะ มี การเปลี่ยน แปลง ไป อยู่เสมอ ตามกาลเวลา ตามความ ต้องการ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับเกรดเฉลี่ยของ นิสิต/ นักศึกษาในแฟ้มประวัติของนักศึกษา ซึ่ง จะต้องเปลี่ยน แปลง ไปในแต่ละภาค การศึกษา ระบบสารสนเทศที่ดี จะต้องยืดหยุ่น โดย ให้มีการเปลี่ยน แปลง ค่าให้เป็น ปัจจุบัน อยู่เสมอ หรือ ยัง คง เก็บ ค่าเก่าไว้เพื่อประโยชน์ ใน การใช้งาน ในกรณีอื่น ๆ ที่ แตกต่างกัน ไป

3. สารสนเทศที่ ทันเวลา (timely) สารสนเทศมีคุณค่าทางเวลาเข้ามาเกี่ยวข้อง ถ้าไม่ได้ สารสนเทศในเวลาที่ต้องการ อาจจะเกิดการสูญเสียโอกาส ที่ไม่อาจจะได้กลับมาใหม่ ถ้า มหาวิทยาลัย ไม่สามารถหา ข้อมูลสารสนเทศได้ทันเวลาประมูล มหาวิทยาลัย ก็อาจจะ เสียโอกาสนั้นไป ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพคือ ระบบที่จะต้องจัดสรรให้ได้สารสนเทศเมื่อผู้ใช้ต้องการ ใน เวลาที่ต้องการ

4. ไม่มีความขัดแย้งกัน (consistant) ในหลาย ๆ กรณี สารสนเทศ ทำให้ เกิดความขัดแย้ง กันของ ข้อมูลที่จัดเก็บในหลาย ๆ ที่ หลาย ๆ แหล่งข้อมูล ซึ่งจะทำให้ข้อมูลหรือสารสนเทศ เหล่านั้น ไม่ตรงกัน ได้ หรือแม้แต่ วิธีการประมวลผล ที่ แตก ต่างกัน ก็ อาจทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนขึ้น ได้ ดังนั้น ข้อมูล ที่ มีความคงที่มากที่สุด จะทำให้ ข้อมูลมีคุณค่าควรแก่การใช้งาน

นอกจากนี้แล้วการนำเสนอข้อมูลหรือการนำเสนอสารสนเทศใน รูปแบบที่เหมาะสม ย่อมทำให้สารสนเทศนั้นมีคุณค่ามากยิ่งขึ้นตาม ไปด้วย ตัวอย่างเช่น ถ้าอาจารย์สอนนิสิต/นักศึกษาหลายร้อยคน และต้องการจะดูคะแนนรวมของนาย ก. แต่ในระบบข้อมูลมีวิธีการ จัดเรียงข้อมูลตามรหัสนักศึกษา ดังนั้นอาจารย์จะต้องค้นหาชื่อ นักศึกษาตั้งแต่ต้นจนกว่าจะพบชื่อที่ต้องการ โดยที่อาจารย์ไม่ ทราบว่านักศึกษาผู้นั้นมีรหัสเท่าใด ดังนั้นระบบสารสนเทศที่มี ประสิทธิภาพ คือระบบที่มีความยืดหยุ่นในการนำเสนอสารสนเทศ ให้กับผู้ที่ต้องการใช้ สารสนเทศนั้น ๆ