PC WORKSHOP MAY 21-25 ,2001 Department of Electrical , Faculty of Engineering Prince of Songkla University Department of Electrical , Faculty of Engineering.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
3. วิธีทำให้ข้อมูลเป็นสารสนเทศมีกี่วิธีอะไรบ้าง
Advertisements

การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Combination Logic Circuits
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
Chapter 1 Introduction to Information Technology
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
การเขียนผังงาน.
สภาวะแวดล้อมในขณะโปรแกรมทำงาน
Central Processing Unit
การแทนค่าข้อมูล และ Primary Storage (Memory)
ชุดที่ 2 Hardware.
ภาษาคอมพิวเตอร์ กฎเกณฑ์เกี่ยวกับคำศัพท์ ไวยากรณ์ และ หลักภาษาในการเขียนคำสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งให้กับเราได้ มีหลากหลายชนิดต่างๆ กัน.
Software คือ ชุดคำสั่งหรือ ขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์.
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
PLC คืออะไร?           Programmable Logic Controller เครื่องควบคุมเชิงตรรกะ
COMPUTER.
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมาย และวิวัฒนาการ ของ ระบบปฏิบัติก าร.
ซอฟต์แวร์.
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
Memory Internal Memory and External Memory
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
ขั้นตอนการแปลงไฟล์.
Surachai Wachirahatthapong
Operating System ฉ NASA 4.
Chapter 1 Introduction to Information Technology
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
Register.
ส่วนประกอบของสกาดา 1. Field Instrumentation 2. Remote Station
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
ขั้นตอนการทำงานและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
CPU ไม่รวม I/O PROCESSOR , MATH CO-PROCESSOR
Programmable Controller
หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ Central Processing Unit and Memory
การสื่อสารข้อมูล Data Communication Chapter 10 วชิรธรรมสาธิต
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
Information Technology I
Basic Programming for AVR Microcontroller
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
การโปรแกรมPLC.
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
บทที่ 3 การจ่ายงาน (Process Management).
Computer Components CPU: Intel Core i5-3210M (2.50 GHz, up to 3.10 GHz , 3MB cache) Display: 15.6 inch (1366x768) High Definition (1080p) LED Display Graphic:
บทที่ 7 การนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานอุตสาหกรรม
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
Chapter 7 Input/Output I/O Module
Input / Output ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
Assembly Languages: PDP8
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
Integrated Network Card
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
ระบบคอมพิวเตอร์ และ การสื่อสาร กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Programmable Logic Control
ใบสำเนางานนำเสนอ:

PC WORKSHOP MAY 21-25 ,2001 Department of Electrical , Faculty of Engineering Prince of Songkla University Department of Electrical , Faculty of Engineering Prince of Songkla University Department of Electrical , Faculty of Engineering Prince of Songkla University

PROGRAMMABLE PROGRAMMABLE CONTROLLER หัวข้อการบรรยาย บทนำ Content Featured ValuPack Online Content Featured ValuPack Online PROGRAMMABLE PROGRAMMABLE CONTROLLER Electrical Engineering , Prince of Songkla University หัวข้อการบรรยาย บทนำ Quick Start Jump Start Basics Guided Tour Getting More Information ประวัติของ PC การจำแนกชนิดของ PC ส่วนประกอบของ PC การทำงานของ PC Presentor : Sawit TANTHANUCH Last updated: May 2000

PC คืออะไร ? A เป็นคำย่อของอุปกรณ์ควบคุมอิเล็กทรอนิกส์ที่มีหน่วยความจำใน การเก็บโปรแกรมสำหรับควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ที่ต่อกับ ขั้วเข้าและขั้วออก ปัจจุบันมักเรียกว่า PC เนื่องจากระบบนี้สามารถปฏิบัติงานได้ทั้งแบบ แอนาลอก และ ดิจิตอล จึงไม่จำเป็นต้องใช้ ตรรกะ หรือ logic มาช่วยในการควบคุม ในยุโรบมักเรียกว่า “ซีเควนเซอร์” (Sequencer Controller) เรียกย่อๆว่า SC แต่สมาคมผู้ผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้าญี่ปุ่น (JEMA) มัก เรียก “PC” หรือ “PLC” ซึ่งย่อมาจาก Programmable Logic Controller B

What Where When Why How ? บริษัท Bedford Associates สร้าง ModularDigital Controller (Modicon) ให้กับ GM และออกวางขายโดยบริษัท Allen-Bradley ในชื่อ PLC 1969 ประวัติ PC พัฒนาให้ PLC สามารถสื่อสารข้อมูลระหว่างกัน โดยระบบ Modbus ของ Modicon และเริ่มใช้อินพุท/เอาท์พุทที่เป็นสัญญาณแอนาลอก 1970 - 79 1990-2000 กำหนดมาตราฐานภาษาเป็น IEC1131-3 สามารถควบคุม PLC ได้ด้วย - function block diagrams - instruction list - C / structured text สร้างมาตรฐานในการสื่อสารข้อมูลของ PLC โดย GM เรียกว่าmanufacturing automation protocal (MAP) และ ผลิตโปรแกรมที่สามารถควบคุม PLC ด้วยภาษาสัญญลักษณ์ โดยผ่านทางคอมพิวเตอร์ 1980 - 89

Dale Carnegie Training® ประเภท และการเลือกใช้งาน Dale Carnegie Training® การเลือกใช้ Micro PC Small PC Medium PC Large PC Very large PC จำนวน Input Output ประเภทของการควบคุมที่ต้องการ ขนาดของข้อมูลที่จะเก็บในหน่วยความจำ อุปกรณ์ต่อพ่วงที่ต้องการใช้ สภาพแวดล้อมในการติดตั้ง การดูแล บำรุงรักษา ราคา

Dale Carnegie Training® ประเภท และการเลือกใช้งาน Dale Carnegie Training® การเลือกใช้ Micro PC Small PC Medium PC Large PC Very large PC Micro PC (ขนาดเล็กมาก) 0-32 I/O Points 8 Bits Processor Memory Up to 1 K Digital I/O (Built in) Timer/Counter/Mcr (Master control relay) Programmed With Handheld

Dale Carnegie Training® ประเภท และการเลือกใช้งาน Dale Carnegie Training® การเลือกใช้ Micro PC Small PC Medium PC Large PC Very large PC Small PC (ขนาดเล็ก) ข้อมูลทั่วไป 32-128 I/O Points 8 Bits Processor Memory Up to 2 K Digital I/O (Local Only) Timer/Counter/Mcr/Tcs (shift register) Ladder or Boolean Language Only

Dale Carnegie Training® ประเภท และการเลือกใช้งาน Dale Carnegie Training® การเลือกใช้ Micro PC Small PC Medium PC Large PC Very large PC Small PC (ขนาดเล็ก) ขนาด AREA “A” 64-128 I/O Points มี Analog control ทำ Math operation ได้ เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายได้ มี Remote I/O

Dale Carnegie Training® ประเภท และการเลือกใช้งาน Dale Carnegie Training® การเลือกใช้ Micro PC Small PC Medium PC Large PC Very large PC Medium PC (ขนาดกลาง) ข้อมูลทั่วไป 64-1024 I/O Memory 4K Up to 8K DI/DO, AI/AO , Local & Remote I/O Ladder, Boolean & High Level Language Network link

Dale Carnegie Training® ประเภท และการเลือกใช้งาน Dale Carnegie Training® การเลือกใช้ Micro PC Small PC Medium PC Large PC Very large PC Medium PC (ขนาดกลาง) ขนาด AREA “B” 512-1024 I/O มี Memory มากกว่า ทำ PID Control ได้ ทำ Subroutine ได้ ทำ Math ได้ ทำ Data Handling ได้มากขึ้น

Dale Carnegie Training® ประเภท และการเลือกใช้งาน Dale Carnegie Training® การเลือกใช้ Micro PC Small PC Medium PC Large PC Very large PC Large PC (ขนาดใหญ่) ข้อมูลทั่วไป 512-4096 I/O ,8-16 Bit Processor Memory Up to 12K DI/DO, AI/AO , Local & Remote I/O Ladder, Boolean & High Level Language Fn Block, Pid Module ,Math (Square Root)

Dale Carnegie Training® ประเภท และการเลือกใช้งาน Dale Carnegie Training® การเลือกใช้ Micro PC Small PC Medium PC Large PC Very large PC Large PC (ขนาดใหญ่) ขนาด AREA “C” 2048-4096 I/O Points มี Application Memory มากกว่า ทำ Special Function I/O Module ได้ ทำ Math ได้

Dale Carnegie Training® ประเภท และการเลือกใช้งาน Dale Carnegie Training® การเลือกใช้ Micro PC Small PC Medium PC Large PC Very large PC Very large PC (ขนาดใหญ่มาก) ข้อมูลทั่วไป 2048-8192 I/O , 16 / 32 Bit Memory Up to 64K DI/DO AI/AOLocal & Remote I/O Ladder, Boolean & High Level Language Fn Block, Pid Module ,Math (Cosine) Host Computer , machine diagnostic

Dale Carnegie Training® ประเภท และการเลือกใช้งาน Dale Carnegie Training® การเลือกใช้ Micro PC Small PC Medium PC Large PC Very large PC Very large PC (ขนาดใหญ่มาก) Supervisory Control and Data Acquisition - SCADA Man/Human Machine Interface Communicate with various PC protocols Graphic & Animation tools Data logging & Events logging

Dale Carnegie Training® การจัดองค์ประกอบ PC T o p o l o g y PC T o p o l o g y รวมศูนย์ กึ่งรวมศูนย์ กระจาย

Dale Carnegie Training® การจัดองค์ประกอบ PC T o p o l o g y PC T o p o l o g y รวมศูนย์ กึ่งรวมศูนย์ กระจาย

Dale Carnegie Training® การจัดองค์ประกอบ PC T o p o l o g y PC T o p o l o g y รวมศูนย์ กึ่งรวมศูนย์ กระจาย

Dale Carnegie Training® ส่วนประกอบ 1. CPU Operating system (ROM) Program memory (RAM,EPROM/EEPROM) Process image (PII,PIQ) Serial interface Timers,Counters,Flags Processor Arithematic unit (AU) 2. I/O AI/AO , DI/DO Interrupts

การทำงาน 1. PC จะตรวจสอบอินพุทโดยจะ scan อินพุทแต่ละตัวไามลำดับ จากนั้นจะ บันทึกข้อมูลที่ได้ลงในหน่วยความจำ 2. PC จะทำการประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้เขียนขึ้นเพียงคำสั่งละครั้ง แล้วเก็บผลที่ได้จากการประมวลผลไว้ในหน่วยความจำเพื่อใช้ในขั้นตอนต่อไป 3. PC จะทำการปรับปรุงสภาวะของเอาท์พุท หลังจากเสร็จขั้นตอนที้ PC จะกลับไปที่ขั้นตอนที่ 1 และทำซ้ำไปเรื่อย ๆอย่างต่อเนื่อง

ระยะเวลาของวงรอบทำงาน ระยะเวลา 1 วงรอบทำงานจะหมายถึงเวลาที่ใช้ไปในการทำงานตามขั้นตอนทั้ง 3

ระยะเวลาของวงรอบทำงาน สัญญาณเข้าที่จะป้อนเข้า PC จะต้องมีช่วง ON และ OFF ยาวกว่า 1 รอบระยะเวลาของวงรอบการทำงาน เพื่อให้เกิดการอ่านสัญญาณได้ถูกต้อง และสัญญาณออกที่จะควบคุมก็ต้องนานพอที่จะทำให้อุปกรณ์ต่อพ่วงปลายทางรับรู้สถานะที่จะสั่งงานด้วย

ภาษาของ PC 1. Statement list (STL) * 2. Control system flow (CSF)* 3. Ladder diagram (LAD)* 4.Boolean & High level language * Industrial standard

L A D D E R Combination Control Process : ควบคุมโดยไม่สนใจลำดับการทำงาน Sequential Control Process : ควบคุมโดยกำหนดลำดับการทำงานที่แน่นอน ตัวอย่าง วงจรการ Start/Stop ในการ ควบคุมการทำงานของ Magnetic contactor

New choices for quality management