PLC : Professional Learning Community สอนเฉพาะสาระสำคัญ(Essential)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

ทำไมต้องอบรม ? การสร้างเครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้(Social Network)
ICT & LEARN.
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
ตามนโยบายสถานศึกษา 3 ดี
กลไกชาติสร้างเด็กไทยก้าวทันโลกยุคใหม่
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1. วิชาสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม ป.4
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
ปฏิบัติการขับเคลื่อน ห้องเรียนคุณภาพ
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
รศ.ดร.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
From Change to Forward.
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Howard Gardner “Five minds for the Future”
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การเลือกโรงเรียน สำหรับบุตรหลาน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ปฏิรูปเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาประเทศไทย
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
มาตรฐานการควบคุมภายใน
เพื่อความเป็นพลเมือง (Civic Education)
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การปลูกพืชผักสวนครัว
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพ สพป.สุพรรณบุรี เขต ๒
หลักสูตรใหม่.... Knowledge กลุ่มความรู้ Knowledge Cluster 1. ภาษาและวัฒนธรรม Language and Culture 2. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและคณิตศาสตร์ Science, Technology,
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
การนำผลการประเมินหลักสูตรไปใช้
ความเป็นครู.
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
ระบบการ ดำเนินการใน โรงเรียน 1. ระบบบริหารจัดการ 2. ระบบการเรียนการสอน 3. ระบบการวัดผลประเมินผล 4. ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 5. ระบบงานกิจกรรมนักเรียน.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
หลักสูตรประวัติศาสตร์ท้องถิ่น จำรัส เพชรทับ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
โรงเรียนคุณภาพ สพท.ชัยภูมิ เขต 3
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

PLC : Professional Learning Community สอนเฉพาะสาระสำคัญ(Essential) Teach less, Learn More

พัฒนาการใหม่ ของการวัดและประเมินทางการศึกษา ในศตวรรษที่ 21 พัฒนาการใหม่ ของการวัดและประเมินทางการศึกษา ในศตวรรษที่ 21 รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์...มสธ. ประธานกรรมการเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3

องค์ประกอบของหลักสูตร วัตถุประสงค์ (Objectives) การจัดประสบการณ์ (Learning Experience ) การประเมินผล (Evaluation) E = M+J

เยาวชน/ผู้เรียน/คนไทย ในศตวรรษที่ 21 Our children live in a global, digital world Borderless Education System

คุณภาพคนไทยยุคใหม่ (ตามแนวปฏิรูป ทศวรรษที่ 2) คุณลักษณะคนไทยยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง รักการอ่าน และมีนิสัยใฝ่เรียนรู้ตลอดชีวิต มีความสามารถในการสื่อสาร สามารถคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหาคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจิตสาธารณะ มีระเบียบวินัย เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม สามารถทำงานเป็นกลุ่ม มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสำนึกและภูมิใจในความเป็นไทย ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รังเกียจการทุจริต และต่อต้านการซื้อสิทธิ์ขายเสียง และสามารถก้าวทันโลก

หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 ปั๊มตรา ทีละดวง ก่อนจบ ไทย คณิต สังคม วิทย์ การงาน ศิลปะ พลานามัย ภาษา รักชาติฯ ซื่อสัตย์ฯ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่าง พอเพียง มุ่งมั่นใน การทำงาน รักความ เป็นไทย มีจิต สาธารณะ ทักษะ สื่อสาร ทักษะ การคิด ทักษะ แก้ปัญหา ทักษะ การใช้ชีวิต ทักษะ ICT ปั๊มตรา ทีละดวง ก่อนจบ

ในหนังสือ “Five Mind for the Future” ของ Harvard Business School เขียนโดย ศาสตราจารย์ฮาวเวิร์ด การ์ดเนอร์ (Howard Gardner) จิต 5 ประการ ที่ควรจะเป็น ควรจะมี สำหรับคนยุค ศตวรรษที่ 21 1. จิตชำนาญการ (Disciplined Mind) เป็นวิธีคิด ความมุ่งมั่นในการประยุกต์ พร้อมทั้งปรับปรุงสิ่งที่เล่าเรียนมาให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง 2. จิตสังเคราะห์ (Synthesizing Mind) เป็นการเลือกข้อมูลที่สำคัญจากข้อมูลมากมาย ที่ได้รับจากหลายๆ แหล่ง และจัดการกับข้อมูลได้อย่างสมเหตุสมผล ทำความเข้าใจกับข้อมูลและประเมินข้อมูลโดยปราศจากอคติ ผสมผสานให้กลายเป็นข้อมูลใหม่ ที่มีความหมายต่อตนเองและผู้อื่น 3. จิตสร้างสรรค์ (Creating Mind) เป็นยิ่งกว่าจิตชำนาญการและจิตสังเคราะห์ โดยเป็นการผลิตความคิดใหม่ๆ พร้อมตั้งคำถามที่แตกต่างไปจากเดิม และกำเนิดเป็นวิธีคิดที่สดใหม่ ซึ่งก็อาจจะกลายเป็นคำตอบที่คาดไม่ถึง 4. จิตเคารพ (Respectful Mind) เป็นการตอบสนองต่อคน อย่างเห็นอกเห็นใจ และเป็นไปในทางสร้างสรรค์ เป็นความพยายามที่จะเข้าใจ และทำงานร่วมกันกับคนที่แตกต่างกัน เป็นการขยายขอบเขตของความอดกลั้น และความถูกต้องเหมาะสมของสังคมและการเมือง 5. จิตจริยธรรม (Ethical Mind) เป็นคุณลักษณะที่มีความสำคัญในเชิงบทบาทในหน้าที่การงานและบทบาทในการเป็นพลเมือง เป็นการไตร่ตรองถึงธรรมชาติของงาน รวมทั้งความต้องการและความปรารถนาของสังคมที่เราดำรงอยู่ โดยมีแนวคิดสำคัญว่า “บุคคลจะตอบสนองต่อจุดประสงค์ที่เหนือไปกว่าประโยชน์ส่วนตนได้อย่างไร” และ “จะทำงานโดยปราศจากความเห็นแก่ตัว และพัฒนาส่วนรวมได้อย่างไร”

กระบวนทัศน์ในการจัดการศึกษา ศตวรรษที่ 21 “กระบวนการเรียนรู้สำคัญกว่าความรู้” และ “ครูมิใช่ผู้มอบความรู้” แต่เป็น “ผู้ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ไปพร้อมกับเด็กและเยาวชน” เป้าหมายของการเรียนรู้มิใช่ตัวความรู้อีกต่อไป เพราะตัวความรู้นั้นมีมายมายมหาศาลเกินกว่าที่จะมอบให้นักเรียนแต่ละชั้นปี ได้ อีกทั้งนักเรียนในศตวรรษใหม่มีหนทางค้นหาความรู้ด้วยตนเองจากทุกหนแห่ง ทั้ง ในสิ่งแวดล้อมและอินเทอร์เน็ต

เป้าหมายของการพัฒนาผู้เรียน จะต้องพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ตลอดชีวิต เด็กและเยาวชนจะเรียนรู้อะไรบ้างขึ้นอยู่กับบริบทของแต่ละคน แต่ที่ทุกคนควรมีคือความสามารถในการเรียนรู้ตลอดเวลา ตลอดชีวิตและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

สาระความรู้ -ความรู้เกี่ยวกับโลก ทะยานสู่เป้าหมาย -ความรู้เกี่ยวกับโลก -การเงิน เศรษฐกิจและการเป็นผู้ประกอบการ -การเป็นพลเมืองดี -ความรู้ด้านสุขภาพ -ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม

ทักษะสำคัญสำหรับเยาวชน ทักษะชีวิตและการทำงาน ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี ทักษะชีวิตและการทำงาน -ความยืดหยุ่น -การริเริ่มสร้างสรรค์ -ทักษะด้านสังคมและทักษะข้ามวัฒนธรรม -การเป็นผู้สร้างหรือผลิตและความเชื่อถือได้ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม -การคิดอย่างมีวิจารณญาณ -การแก้ปัญหา -การสื่อสาร -ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี -รู้จักใช้และประเมินสารสนเทศอย่างเท่าทัน -ใช้เทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพ -วิเคราะห์และเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม   ทะยานสู่เป้าหมาย

Basic Skills express in writing, Orally, ability to read do mathematic use Digital tool Competence Aim ท้องถิ่น และ โรงเรียน ต้องร่วมกันกำหนดและประเมินตนเอง ทักษะชีวิตและการทำงาน -ความยืดหยุ่น -การริเริ่มสร้างสรรค์ -ทักษะด้านสังคมและทักษะข้ามวัฒนธรรม -การเป็นผู้สร้างหรือผลิตและความเชื่อถือได้ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม -การคิดอย่างมีวิจารณญาณ -การแก้ปัญหา -การสื่อสาร -ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี -รู้จักใช้และประเมินสารสนเทศอย่างเท่าทัน -ใช้เทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพ -วิเคราะห์และเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม   Standard Base Education ทะยานสู่เป้าหมาย

Educational Assessment Educational Evaluation Learning Assessment

Educational Assessment Educational Evaluation A Key activities of teachers A key focus educational research การประเมินการปฏิบัติงาน มีเรื่องวัฒนธรรม+บริบท เข้ามาเกี่ยวข้อง การประเมินเพื่อ การเทียบเคียงในระดับนานาชาติ จะมีบทบาทมากขึ้น เช่น PISA ของกลุ่ม OECD

การประเมินในศตวรรษที่ 21 การประเมินผลที่แท้จริง/การประเมินตามสภาพจริง(Authentic Assessment) เป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการศึกษาในศตวรรษที่ 21 การประเมินต้องวัดผลลัพธ์สำคัญห้าประการ ได้แก่ วิชาแกน เนื้อหาสำหรับศตวรรษที่ 21 ทักษะการเรียนรู้และการคิด ความรู้ พื้นฐานไอซีที และ ทักษะชีวิต

การประเมินทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ควรทำควบคู่ไปกับการประเมินวิชาแกน เพราะการประเมินที่แยกขาดกันจะบั่นทอน เป้าหมายในการหลอมรวมทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เข้ากับวิชาแกน เทคโนโลยีสมัยใหม่จะช่วยการประเมินให้มีประสิทธิผล มีความยั่งยืน และเสียค่าใช้จ่ายน้อยลง แบบทดสอบมาตรฐานเพียงอย่างเดียวใช้วัดทักษะและความรู้ที่เรียนได้ไม่กี่ อย่าง การประเมินต้องผสมผสานให้สมดุลระหว่างแบบทดสอบมาตรฐานที่มีคุณภาพ กับการประเมินตามสภาพจริง ที่มีประสิทธิภาพ

Educational Assessment Educational Evaluation Project Evaluation

การประเมินนโยบาย แผนงาน โครงการ การวิเคราะห์เชิงลึก ปัจจัย/ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับความสำเร็จ การควบคุมตัวแปรวัฒนธรรม บริบทในการจัดการศึกษา การใช้ ICT ในงานประเมิน

เชิญ อภิปราย ซักถาม ทะยานสู่เป้าหมาย

โครงสร้างพื้นฐาน 4 ด้าน ทะยานสู่เป้าหมาย หลักสูตรและการเรียนการสอน การพัฒนาวิชาชีพครู การจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม มาตรฐานการประเมิน

Digital-Age Literacy Basic, Scientific, Economic,and Technological Literacies Visual and Information Literacies Multicultural Literacy and Global Awareness

Inventive Thinking Adaptability, Managing Complexity, and Self-Direction Curiosity, Creativity, and Risk Taking Higher-Order Thinking and Sound Reasoning

Effective Communication Teaming, Collaboration,and Interpersonal Skills Personal, Social, and Civic Responsibility Interactive Communication

High Productivity Prioritizing, Planning, andManaging for Results Effective Use of Real-World Tools Ability to Produce Relevant,High-Quality Products

เอกสารอ้างอิง ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21 วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และ อธิป จิตตฤกษ์ แปล