การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด โดยสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 13 (ชลบุรี)
การดำเนินการของ อปท. ในการจัดทำแผนงาน/โครงการ ด้านการจัดการขยะมูลฝอย/น้ำเสีย 1. ประเมินความรุนแรงของปัญหา (SWOT Analysis) ความพร้อมของท้องถิ่น 2. จัดหาที่ดินในการบำบัด/กำจัด 3. ศึกษาความเหมาะสมและออกแบบรายละเอียด (FS/DD) 4. จัดทำแผนงานโครงการบรรจุไว้ในแผนปฏิบัติการฯ ในระดับจังหวัด
การเตรียมความพร้อมในการจัดทำโครงการ ตามหลักเกณฑ์การพิจารณาของ สผ. 1. ข้อเสนอโครงการ 2. ทำการศึกษาความเหมาะสมและออกแบบ รายละเอียด (FS/DD) ไม่เกิน 3 ปี 3. แบบรายละเอียด 4. ผลการเดินระบบ (กรณีเพิ่มประสิทธิภาพ) 5. รายการประมาณราคา 6. มีเอกสารสิทธิ์ในการถือครองที่ดิน/หนังสืออนุญาตให้ใช้/ ยืนยันการให้ใช้ที่ดิน
การเตรียมความพร้อมในการจัดทำโครงการ ตามหลักเกณฑ์การพิจารณาของ สผ. 7. การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ตามระเบียบสำนักนายก รัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ.2548 8. อปท. สมทบงบประมาณอย่างน้อย 10 % 9. การลงนามในบันทึกข้อตกลง (MOU) 10. แผนการบริหารจัดการ - การเดินระบบและบำรุงรักษาระบบ - การจัดเตรียมบุคลากร - งบประมาณการเดินระบบและบำรุงรักษาระบบ - การมีส่วนร่วมของประชาชน 11. รายการรายรับ-ร่ายจ่าย ย้อนหลัง 3 ปี
การวางแผนและจัดทำโครงการ เป็นส่วนหนึ่งของการบริหาร การบริหาร คือ การวางแผนงาน/โครงการ และนำไปดำเนินงานให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ โดยจัดกำลังคน เงิน วัสดุ การประสานงาน การอำนวยการ การติดต่อสื่อสารและการควบคุมงานให้เหมาะสมที่สุด
การวางแผน (Planning) เป็นงานของผู้บริหาร กำหนดวัตถุประสงค์ นโยบาย เป้าหมาย พิจารณาข้อมูล ข้อเท็จจริงที่มีอยู่ และปัญหาใน อนาคต กำหนดการประสานงาน ควบคุมงาน จะให้ใครทำอะไร ที่ไหน เมื่อใด วิธีใด ประเมินผล แก้ไขปรับปรุงแผน
ที่มาของโครงการ สนองตอบความต้องการหรือแก้ปัญหา นโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนงาน จากต้นสังกัด ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ ขององค์กร/สถาบัน ปัญหา ความจำเป็น/ความต้องการขององค์กร/สถาบัน
โครงการที่กำหนด... ต้องอธิบายเหตุผลและความจำเป็นได้ ต้องมีความสอดคล้องและเชื่อมโยงกับนโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนงานของต้นสังกัด/แหล่งทุน ต้องมีคุณค่าและความคุ้มค่า ต้องมีความเป็นไปได้ (เหมาะกับสภาพแวดล้อม ทรัพยากร เวลา และศักยภาพของผู้ปฏิบัติ ฯลฯ...)
คิด..ก่อนเขียนโครงการ 1. วิเคราะห์ปัญหาหรือความต้องการ โดย... 1. วิเคราะห์ปัญหาหรือความต้องการ โดย... - ศึกษาสภาพแวดล้อมเพื่อค้นหาปัญหา สาเหตุของปัญหา และเหตุผลความจำเป็น ฯลฯ - กำหนดสภาพแห่งการหมดปัญหา - กำหนดแนวทางแก้ไข
ลักษณะโครงการที่ดี...ที่ควรสนับสนุน ชื่อโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ วิธีดำเนินการ ผลที่คาดว่าจะได้รับ เกณฑ์ความสำเร็จ การประเมิน การเขียนโครงการ อย่างมีระบบและสอดคล้อง/เชื่อมโยงระหว่างกัน
สรุป ลักษณะโครงการที่ดี...ที่ควรสนับสนุน มีความสอดคล้องและสนองตอบนโยบาย / ยุทธศาสตร์ / แผนงาน / เป้าหมายของต้นสังกัดหรือแหล่งทุน และหรือตอบสนองต่อความต้องการ ปัญหา ข้อเรียกร้อง และความจำเป็นของกลุ่มเป้าหมาย เป็นโครงการที่มีลักษณะของการริเริ่ม สร้างสรรค์ คุ้มค่า พัฒนา และยั่งยืน มีความชัดเจน และเอื้อต่อการปฏิบัติ – ติดตาม/ประเมินผล
สรุป ลักษณะโครงการที่ดี...ที่ควรสนับสนุน ดำเนินการได้อย่างเป็นระบบและมีเหตุผล - มีวัตถุประสงค์ชัดเจน - มีวิธีดำเนินการที่เป็นรูปธรรม - มีระยะเวลาแน่นอน - มีผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนและมีศักยภาพ - มีการจัดสรรทรัพยากร/ปัจจัยสนับสนุนที่เหมาะสม
จบการนำเสนอ ขอขอบคุณ