ห้องประชุม โรงเรียนเทศบาล 7 ฝั่งหมิ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย
Advertisements

บูรณาการสู่ความสำเร็จ
วันพฤหัสบดีที่ 29 มีนาคม 2555 เวลา น
วันพฤหัสบดีที่ 29 กันยายน 2554 เวลา น
เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2557.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
การบริหารจัดการท้องถิ่น
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแผนชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔
**************************************************
1. การให้ความรู้ด้านการผังเมือง
ระเบียบวาระที่ เรื่องเพื่อทราบ
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
1 การดำเนินงานที่เน้นหนักของ กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ. ศ นายแพทย์เสรี หงษ์หยก รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข 8 กันยายน 2553 โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค กรุงเทพฯ.
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการพัฒนาห้องสมุด 3ดี
การประชุมชี้แจงรายละเอียด
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
กลุ่มลิ้นจี่ สภาพปัญหายาเสพติด จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
สรุปการประชุม F.S.C เขตบริการสุขภาพที่ 2
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
พื้นที่อำเภอเมืองเชียงใหม่ วัดเกต ช้างคลาน หายยา ป่าตัน ช้างม่อย ศรีภูมิ พระสิงห์ สุเทพ ฟ้า ฮ่าม ท่าศาลา ป่าแดด แม่เหียะ หนองป่าครั่ง สัน ผีเสื้อ ช้างเผือก.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาการบริหารจัดการขยะและเทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่ภาคพายัพ ( จอมทอง ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่ภาคพายัพ ( จอมทอง ) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ห้องประชุม โรงเรียนเทศบาล 7 ฝั่งหมิ่น การประชุมเชิงปฏิบัติการระหว่างภาคีที่เกี่ยวข้อง ในการร่างแนวคิดโครงการถอดแบบตัวอย่างที่ดี สู่การปฏิบัติ ของเทศบาลนครเชียงราย วันที่ 30 - 31 มีนาคม 2554 ห้องประชุม โรงเรียนเทศบาล 7 ฝั่งหมิ่น

โครงการประสานความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รอบข้างในการพัฒนาภูมิทัศน์ และการเพิ่มประสิทธิภาพในการกำจัดขยะมูลฝอยแบบครบวงจรเพื่อ เฉลิมฉลองเมืองเชียงราย 750 ปี

หลักการและเหตุผล จำนวนนักท่องเที่ยว เพิ่มขึ้น จำนวนประชากรที่มาอาศัย ในเมืองเพิ่มขึ้น การก่อสร้างระบบโครงสร้างพื้นฐาน ระบบการจัดการขยะมูลฝอยของ อปท.ที่มีพื้นที่ติดต่อ กับ ทน.ชร ไม่ครอบคลุม กับจำนวนประชากรที่อาศัยในพื้นที่ เทศบาลนครเชียงราย “ เมืองน่าอยู่ ประตูสู่สากล ” เมืองเชียงราย ครบ 750 ปี ในปี 2555

วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาลในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยเน้นหนักการบริหารจัดการที่ดีภายในองค์กร การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวางแผนและการตัดสินใจ การจัดการสิ่งแวดล้อมเมือง และการจัดการ การเงินการคลัง เพื่อลดปัญหาการจัดการภูมิทัศน์ และการจัดการขยะมูลฝอยระหว่าง อปท.ที่มีพื้นที่ติดกัน ชุมชนเป้าหมาย เกิดการมีส่วนร่วมในการพัฒนาภูมิทัศน์ และเฝ้าระวังปัญหาขยะมูลฝอย เพื่อร่วมฉลอง เมืองเชียงราย ครบ 750 ปี ในปี พ.ศ. 2555

กลุ่มเป้าหมาย ภาครัฐ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จ.เชียงราย แขวงการทางเชียงราย สำนักงานโยธิการและผังเมือง จ.เชียงราย สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จ.เชียงราย สำนักงานจังหวัดเชียงราย ที่ว่าการอำเภอเมืองเชียงราย

7 องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยสัก 8 องค์การบริหารส่วนตำบลสันทราย 9 องค์การบริหารส่วนตำบลท่าสาย 10 องค์การบริหารส่วนตำบลรอบเวียง 11 องค์การบริหารส่วนตำบลริมกก 12 เทศบาลตำบลป่าอ้อดอนชัย 13 เทศบาลตำบลบ้านดู่ 14 เทศบาลตำบลแม่ยาว 15 องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย

สถาบันการศึกษา 1 มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย 2 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

ภาคประชาชน ชุมชนป่าแดง ชุมชนแม่กรณ์ ชุมชนดอยสะเก็น ชุมชนศูนย์วิจัยพืชสวน ชุมชนหน้าสนามกีฬา ชุมชนป่างิ้ว ชุมชนห้วยป่ากั้ง

พื้นที่ดำเนินการ พื้นที่รอยต่อระหว่าง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ติดกับเทศบาลนครเชียงราย พื้นที่เขตเทศบาลนครเชียงราย บ่อฝังกลบขยะเทศบาลนครเชียงราย บ้านดงป่าเมี้ยง ต.ห้วยสัก

ผลที่คาดว่าจะได้รับ พื้นที่เขตเทศบาลนครเชียงราย และพื้นที่ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีพื้นที่ติดกับเทศบาลนครเชียงราย มีภูมิทัศน์ที่สวยงาม และมีการจัดเก็บขยะมูลฝอยอย่างเป็นระบบ มีการบูรณาการแผนการดำเนินงานด้านการพัฒนาภูมิทัศน์ และระบบการจัดการขยะมูลฝอย ระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีพื้นที่ติดกัน ประชาชนในพื้นที่รอยต่อระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาภูมิทัศน์ และการจัดการขยะมูลฝอย ทุกภาคส่วนในพื้นที่รอยต่อระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาภูมิทัศน์ และการจัดการขยะมูลฝอย

มีระบบการพัฒนาภูมิทัศน์ การจัดเก็บขยะมูลฝอย และกระบวนการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยในระดับพื้นที่ พื้นที่ดำเนินการเกิดภูมิทัศน์ที่สวยงาม และมีระบบการจัดเก็บขยะที่มีประสิทธิภาพ