KM for PHER.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การป้องกันควบคุมโรค ในเขตสุขภาพ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ทิศทางหลักกรมควบคุมโรค ปี 2553
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
การเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ด้านการแพทย์และสาธารณสุข
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
แนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับ PHE และ การตอบโต้
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
บทบาทและแนวทางในการพัฒนา ทีม SRRT ต่อการควบคุมภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
นโยบายและการจัดการกับภาวะฉุกเฉิน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อสนับสนุน SRRT ด้านบริหารจัดการ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง ดร.นพ.ณรงค์
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
“บทบาทที่ท้าทายของพยาบาล ในการจัดการวิกฤตอุทกภัย”
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้าง สมรรถนะองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูง อำนาจหน้าที่ 1. ตรวจราชการ ประสานงาน เร่งรัด ติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ.
สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1. จัดทำนโยบาย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

  KM for PHER

ความคาดหวังจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความรู้ ประสบการณ์การทำงาน การดำเนินงานที่ผ่านมา (คุณวันชัย) ปัญหา-อุปสรรคที่พบ สิ่งที่น่าจะทำต่อไป

หัวข้อ PHER คืออะไร บทบาทหน้าที่ของชาวสคร.7 ต่อ งาน PHER   PHER คืออะไร บทบาทหน้าที่ของชาวสคร.7 ต่อ งาน PHER องค์ความรู้สำหรับการดำเนินงาน PHER ปัญหา & อุปสรรค ที่พบ สิ่งที่น่าจะทำต่อไป

คำถามก่อนแลกเปลี่ยน ความหมาย ประเภท และผลกระทบของภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข การจัดการภาวะฉุกเฉินโดยรวม มีความหมายอย่างไร กระบวนการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขมีกี่ระยะ ระบบบัญชาการฉุกเฉิน ( Incident command System) ท่านเข้าใจว่าอย่างไร

Public Health Emergency Response PHER SRRT Foundation Course PHEM

Disaster “An occurrence that causes damage, ecological disruption, loss of human life, deterioration of health and health services on a scale sufficient to warrant an extraordinary response from out-side the effected community area.” SRRT Foundation Course PHEM

Public Health Emergency Seriousness of the public health impact of the event. Unusual or Unexpected nature of the event. Potential for the event to spread. The risk that restrictions to travel or trade. SRRT Foundation Course PHEM

Public Health Emergency Anthrax, plague, tularemia…more Explosions/blasts, burns, injuries…more Nerve agents, chlorine, ricin, sarin…more Hurricanes, wildfires, tornadoes…more Dirty bombs, nuclear blasts…more Avian flu, seasonal flu, mumps…more SRRT Foundation Course PHEM

มลภาวะ ละอองฝุ่น SRRT Foundation Course PHEM

ไฟไหม้ชุมชนสวนพลู วันที่ 23 เมษายน 2547 SRRT Foundation Course PHEM

รถแก๊ซคว่ำและเพลิงไหม้, เพชรบุรีตัดใหม่ กันยายน 2532 LPG Explosion, Bangkok, September 1989; Killed 81 SRRT Foundation Course PHEM

Bridge Collapse: US – 8 Aug 07 SRRT Foundation Course PHEM

SARS SRRT Foundation Course PHEM

8427 cases, 813 deaths, fatality rate 9.6%, HCW transmission 20 – 50% SRRT Foundation Course PHEM

SRRT Foundation Course PHEM

SRRT Foundation Course PHEM

ภัยแล้ง SRRT Foundation Course PHEM

อุทกภัย อ.หาดใหญ่ ปี 2542 SRRT Foundation Course PHEM

อุทกภัย อ.หาดใหญ่ ปี 2553

น้ำท่วม จังหวัดลพบุรี 2553

น้ำท่วมปากช่อง ปี 2553

เขมรเหยียบกันตายในงานลอยกระทงปี 2553

ใต้ฝุ่นเกย์ พฤศจิกายน 2532 Typhoon Gay Southern, November 1989; killed >600 SRRT Foundation Course PHEM

น้ำทะเลลดลงหลายร้อยเมตรขณะเกิดสึนามิ Tsunami ธันวาคม 2547 น้ำทะเลลดลงหลายร้อยเมตรขณะเกิดสึนามิ น้ำขึ้นอย่างรวดเร็ว SRRT Foundation Course PHEM

ลูกเห็บ วันที่ 11 - 12 มกราคม 2545 SRRT Foundation Course PHEM

Taiwan 21 ก.ย. 1999 เสียชีวิต 2492 คน อาคารบ้านพักเสียหาย 53,406 หลัง Earth quake Taiwan 21 ก.ย. 1999 เสียชีวิต 2492 คน อาคารบ้านพักเสียหาย 53,406 หลัง SRRT Foundation Course PHEM

แผ่นดินถล่ม SRRT Foundation Course PHEM

Hurricane Katrina - US, Aug 2005 SRRT Foundation Course PHEM

Hurricane Katrina - US, Aug 2005 SRRT Foundation Course PHEM

Natural Disasters in Thailand http://www.unisdr.org/eng/country-inform/thailand-disaster.htm SRRT Foundation Course PHEM

Technological Disasters in Thailand http://www.unisdr.org/eng/country-inform/thailand-disaster.htm SRRT Foundation Course PHEM

ภัยคุกคามสุขภาพ Super Typhoon Karen, Nov.-Dec. 1962; killed ~900 Flood Southern, November 1963; killed 374 Typhoon Gay Southern, November 1989; killed >600 LPG Explosion, Bangkok, September 1989; Killed 81 Doll Factory on fire, May 1993; killed 188 Hotel Collapse, Korat, August 1993; killed 132 SARS Dec. 03 – Jun. 2004; economic loss $ 4.5 bm. Tsunami, December 2004; killed >5,400 Avian Influenza 2004; Pandemic threat etc. SRRT Foundation Course PHEM

SRRT Foundation Course PHEM

ยุทธศาสตร์กรมควบคุมโรค ปี 2554 การพัฒนา และร่วมมือกับเครือข่ายภาคีภายในและนานาชาติ รวมทั้งสนับสนุน พื้นที่ในการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคและภัยสุขภาพอย่างมี ประสิทธิภาพ และยั่งยืน การพัฒนาเป็นศูนย์กลางนโยบาย มาตรการ นวัตกรรม ข้ออ้างอิง และมาตรฐาน วิชาการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของชาติ ที่ได้มาตรฐานสากล และเป็นที่ยอมรับ การสื่อสารสาธารณะและประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึง การเตรียมความพร้อม และการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพใน สถานการณ์ฉุกเฉิน และภัยพิบัติอย่างรวดเร็ว ตามความต้องการของพื้นที่ และได้ มาตรฐานสากล SRRT Foundation Course PHEM 35

การติดตามประเมินผลภาพรวม การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและบุคลากรให้มีขีดสมรรถนะสูง ได้มาตรฐานสากล

การเตรียมความพร้อม - ศูนย์อำนวยการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข - ในทุกระดับ - ระบบสั่งการในภาวะฉุกเฉิน (ICS) - แผนเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน - ทีมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข - โดยเฉพาะในระดับ สคร. - ระบบสนับสนุน การบริหารจัดการระบบพัสดุในภาวะฉุกเฉิน ระบบสื่อสารและประชาสัมพันธ์ในภาวะฉุกเฉิน ฯลฯ SRRT Foundation Course PHEM 37

Road Map PHER Team Preparedness 2549: Planning 2550: SRRT for PHER; DPC 2551: SRRT for PHER; Provinces 2552: SRRT for PHER; Districts 2553: SRRT for PHER; All 2546-47: Ad hoc 2548-9: One Team One Operation 2550-1: One District One Success Operation 2552+: One District One Professional SRRT SRRT Foundation Course PHEM

Road Map PHE Preparedness 2550 2552 District Province Regional Central 2551 2553 2007 2009 2008 2010 Well Prepared Networks Formulated PHER Exercise PHERT OP.Center Structure Established PHER Team พ.ศ. 2550; พัฒนาความพร้อมภายในกรม คร. พ.ศ. 2551; พัฒนาความพร้อมระดับจังหวัด พ.ศ. 2552+; พัฒนาความพร้อมระดับอำเภอ และ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น SRRT Foundation Course PHEM

ภัยพิบัติ “หมายความว่า สาธารณภัยอันได้แก่ อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง ภาวะฝนแล้ง ฝนทิ้งช่วง ฟ้าผ่า ภัยจากลูกเห็บ ภัยอันเกิดจาก โรคหรือถาวะการระบาดของแมลงหรือศัตรูพืชทุกชนิด อากาศหนาวจัดผิดปกติ ภัยสงคราม และภัยอันเนื่องมาจากการกระทำของผู้ก่อการร้าย กองกำลังจากนอกประเทศ หรือจากการปราบปรามของเจ้าหน้าที่ของทางราชการ ตลอดจนภัยอื่น ๆ ไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติ หรือมีบุคคลหรือสัตว์ทำให้เกิดขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชนหรือรัฐ” ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดลองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2546 ข้อ 5 SRRT Foundation Course PHEM

การให้ความช่วยเหลือด้านการแพทย์และสาธารณสุข ฉุกเฉิน “หมายความว่า เกิดขึ้นโดยปัจจุบันทันด่วนหรือเป็นที่คาดหมายว่าจะเกิดขึ้นในเวลาอันใกล้ และจำเป็นต้องรีบแก้ไขโดยฉับพลัน ” การให้ความช่วยเหลือด้านการแพทย์และสาธารณสุข “หมายความว่า การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติด้านการกายและจิต ซึ่งประกอบด้วยการรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการสาธารณสุขที่จำเป็น เพื่อให้การดำรงชีวิตเขาสู่ภาวะปกติโดยเร็ว ” ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดลองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2546 ข้อ 5 วรรค 2, วรรค 6 SRRT Foundation Course PHEM

การให้ความช่วยเหลือด้านการแพทย์และสาธารณสุข ฉุกเฉิน “หมายความว่า เกิดขึ้นโดยปัจจุบันทันด่วนหรือเป็นที่คาดหมายว่าจะเกิดขึ้นในเวลาอันใกล้ และจำเป็นต้องรีบแก้ไขโดยฉับพลัน ” การให้ความช่วยเหลือด้านการแพทย์และสาธารณสุข “หมายความว่า การให้ความชวยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติด้านการกายและจิต ซึ่งประกอบด้วยการรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการสาธารณสุขที่จำเป็น เพื่อให้การดำรงชีวิตเขาสู่ภาวะปกติโดยเร็ว ” ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดลองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2546 ข้อ 5 วรรค 2, วรรค 6 SRRT Foundation Course PHEM

การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ “ข้อ 16 เมื่อภัยพิบัติเกิดขึ้นในท้องที่ใด หากเป็นกรณีฉุกเฉิน ให้ดำเนินการประกาศให้ภัยพิบัตินั้นเป็นภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามหลักเกณฑ์ต่อไปนี้ กรณีเกิดในกรุงเทพมหานคร ให้เป็นอำนาจของอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรณีเกิดในจังหวัดอื่น ให้เป็นอำนาจของผู้ว่าราชการจังหวัด ฯลฯ ข้อ 17 เมื่อได้มีการประกาศตามข้อ 16 แล้ว ให้ส่วนราชการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการที่กำหนดในหมวดนี้ ” ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดลองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2546 SRRT Foundation Course PHEM

FEMA Disaster Cycle Pre-Impact Post-Impact http://www.drapetomania.us/archives/2005/10/fema_disaster_c.html Pre-Impact Post-Impact SRRT Foundation Course PHEM 44

Disaster Cycle http://www.siamvolunteer.com/index_1.php SRRT Foundation Course PHEM

การจัดการในภาวะฉุกเฉิน การเตรียมพร้อมรับภัย การฟื้นฟูสภาพร่างกาย จิตใจ Disaster Management Cycle Disaster ภัยพิบัติ Impact Pre-impact Warning การเตือนภัย Post-impact Emergency Response การจัดการในภาวะฉุกเฉิน Disaster Preparedness การเตรียมพร้อมรับภัย Rehabilitation การฟื้นฟูสภาพร่างกาย จิตใจ Disaster Mitigation การลดผลกระทบจากภัย Reconstruction การฟื้นฟูสิ่งก่อสร้าง Disaster Prevention การป้องกันภัย Source: Somchai K. Narenthorn Center SRRT Foundation Course PHEM

PHE. Management Cycle Response Recovery Mitigation Preparedness Impact Response Recovery Mitigation Preparedness Pre-impact Post-impact SRRT Foundation Course PHEM

PHEM-Phasing     Initial/Acute Phase Mitigation/ Prevention 0-2 hrs Immediate hours 2-6 hrs Intermediate hours 6-12 hrs Extended hours Impact Mitigation/ Prevention  Preparation Phase  Response/Relief Phase  Recovery Phase  Pre-impact Post-impact 1 day 2 – 14 day 15+ Search Rescue SRRT Foundation Course PHEM

Mitigation Phase การจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อกำจัดหรือลดโอกาสการเกิด หรือลดผลกระทบของการเกิดภัยพิบัติ หรือเหตุการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุข เช่น จัดให้มีระบบเฝ้าระวังหรือข่าวกรองที่ดี เพื่อให้สามารถเตือนภัยล่วงหน้าได้ มีการประเมินและค้นหาความเสี่ยง/ภัยคุกคามสุขภาพต่อเนื่อง แล้วหาทางลดปัจจัยเหล่านั้นลง SRRT Foundation Course PHEM 49

Preparedness Phase เป็นระยะที่ต้องเตรียมความพร้อมทุกด้านก่อนที่จะเกิดภัยพิบัติหรือภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข เช่น การพัฒนาบุคลากรให้มีความพร้อมในการรับมือกับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข การเตรียมแผนโต้ตอบภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข มีการซ้อมแผน และมีการเตรียมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องใช้ไว้ให้พร้อม เป็นต้น SRRT Foundation Course PHEM

Response Phase เมื่อเกิดภัยพิบัติที่ถือเป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ทีมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข จะเข้าพื้นที่ประสบภัยทันที เพื่อดำเนินการทุกวิถีทางที่จะให้การช่วยเหลือและบรรเทาความเสียหายต่อสุขภาพของคนในในพื้นที่ประสบภัย รวมทั้งดำเนินการป้องกันควบคุมโรคระบาดหรือผลแทรกซ้อนอื่นที่อาจเกิดตามหลังการเกิดภัยพิบัติหรือภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขด้วย SRRT Foundation Course PHEM

Recovery Phase เป็นระยะที่ความเสียหายอันเกิดจากภาวะฉุกเฉินได้รับ การแก้ไขบรรเทาแล้ว ที่พักพิงชั่วคราวสามารถปิดตัวได้ ระบบบริการต่าง ๆ ของพื้นที่เริ่มเปิดให้บริการแก่ประชาชนในพื้นที่ได้แล้ว ประชาชนเริ่มกลับเข้าสู่วิถีชีวิตปกติ ทีมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินที่เข้ามาช่วยเหลือพื้นที่ประสบภัย สามารถทยอยถ่ายโอนภารกิจให้หน่วยงานในพื้นที่ และถอนตัวออกจากพื้นที่ได้ SRRT Foundation Course PHEM

สรุป     Search Rescue Mitigation/ Prevention Preparation Phase Initial/Acute Phase 0-2 hrs Immediate hours 2-6 hrs Intermediate hours 6-12 hrs Extended hours Impact Mitigation/ Prevention  Preparation Phase  Response/Relief Phase  Recovery Phase  Pre-impact Post-impact 1 day 2 – 14 day 15+ 1.Intro PHEM 2. PHEM in Thailand 3. Role of SRRT in PHER & ICS 5.Planning for PHER & Exercise 11. Logistics - Networking 6.Surveillance for PHE 8.Epidemiological Investigation 9.Risks & Hazard Control 13. Rehabilitation Restore system Transfer tasks 12.Surveillance & Intelligence 4.Hazards/Risks assessment & reduction Search Rescue 7.Rapid Health assessment 10.Risks comm. SRRT Foundation Course PHEM

คำตอบท้ายการแลกเปลี่ยน

ทำให้เกิดผลกระทบทางสุขภาพที่มีความรุนแรง อะไรคือความหมายของ “ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข” ความหมายของ “ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข” คือเหตุการณ์ที่เป็นโรคและภัยคุกคามสุขภาพ ซึ่งมีลักษณะเข้าได้กับเกณฑ์อย่างน้อย 2 ใน 4 ประการ ดังนี้ ทำให้เกิดผลกระทบทางสุขภาพที่มีความรุนแรง เป็นเหตุการณ์ที่ผิดปกติหรือไม่เคยพบมาก่อน มีโอกาสที่จะแพร่ไปสู่พื้นที่อื่น ต้องจำกัดการเคลื่อนที่ของผู้คนหรือสินค้า

ประเภทของภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขมีดังนี้คือ การใช้อาวุธชีวภาพ ภาวะฉุกเฉินจากสารเคมี ภาวะฉุกเฉินจากรังสี อุบัติเหตุกลุ่มชน สาธารณภัยจากธรรมชาติและภาวะอากาศเลวร้าย การระบาดของโรคที่พบบ่อยในพื้นที่

การครอบคลุมอันตรายทุกด้าน ภาคีเครือข่าย แนวคิดเรื่อง “การจัดการภาวะฉุกเฉินโดยรวม” (Comprehensive Emergency Management) มีอะไรบ้าง การครอบคลุมอันตรายทุกด้าน ภาคีเครือข่าย วงจรการจัดการภาวะฉุกเฉิน 4 ระยะ

การจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข มีทั้งหมดกี่ระยะอะไรบ้าง ระยะบรรเทาภัย ระยะเตรียมความพร้อม ระยะตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน ระยะฟื้นฟูบูรณะ

ปัญหา อุปสรรค ความรู้ ประสบการณ์

สิ่งที่น่าจะทำต่อไป (ต่อยอด) ประเมินสภาพตั้งต้นของกลุ่ม ทำแผนงาน/โครงการตามนโยบาย ยุทธศาสตร์ของกรม

Comment & Suggestion ? SRRT Foundation Course PHEM

THANK YOU