ระบาดวิทยาเพื่อการตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
เทคนิคการออกสอบสวนโรค สุทธิลักษณ์ หนูรอด นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
ไม่ต้องจัดหา ต้องดูด้านคุณภาพ เป็นการสร้างเสริมปกป้อง สุขภาพของสาธารณะ.
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
วิธีการทางวิทยาการระบาด
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
การเฝ้าระวังผู้ป่วยกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (ILI) ที่เข้ารับการรักษาในสถาบันบำราศนราดูร A Hospital-Based Surveillance of ILI Case-Patients In Bamrasnaradura.
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
การเขียนรายงานการสอบสวนทางระบาดวิทยา
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
Introduction to Epidemiology
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อสนับสนุน SRRT ด้านบริหารจัดการ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง ดร.นพ.ณรงค์
ระบาดวิทยา Epidemiology.
การพยากรณ์โรค.
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
(Supplier-Input-Process-Output-Customer : SIPOC)
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
หลักระบาดวิทยาสำหรับ ป.ตรี
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบาดวิทยาเพื่อการตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข กาญจนาพันธุ์ สมหอม

ระบาดวิทยาคืออะไร? การศึกษา การเกิดโรค ประชากร การป้องกัน ควบคุมโรค การกระจาย บุคคล เวลา สถานที่ ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรค ปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยป้องกัน As you have learn that Epidemiology is a study It is the study of disease occurrence among the population The disease occurrence including distribution of disease by time place and person And the determinants or the risk factors of the disease It will not be complete epidemiology until the prevention and control measures are implemented based on these information.

นักระบาดวิทยา : ผู้ทำการศึกษา(study)เรื่องราวเกี่ยวกับ การเกิด (occurence) การกระจาย (distribution) ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค (risk factors) ปัจจัยที่เป็นสาเหตุของการระบาด แนวทางในป้องกันและควบคุมโรค (prevention&control) เวลา บุคคล สถานที่

ปรัชญา โรคต่างๆไม่ได้เกิดด้วยความบังเอิญ โรคต่างๆ สามารถป้องกันได้ การป้องกันโรคได้มีประสิทธิผลมากกว่าการรักษาโรค

Epidemiologic Triangle Agent สิ่งก่อโรค เช่น เชื้อโรค .. Host คน Environment สิ่งแวดล้อม

ความสัมพันธ์ของการเกิดโรคระหว่าง Host - Agent - Environment Host : สังขาร - เรือนร่าง ปัจจัย : - ทางชีวภาพ : ผิวหนัง น้ำตา อายุ เพศ เชื้อชาติ : ภูมิคุ้มกันจำเพาะ - ได้จากธรรมชาติ - จากการทำเทียม - ทางพฤติกรรม : การใช้น้ำ การบริโภคอาหาร การขับถ่าย Personal Hygine อาชีพ การออกกำลังกาย

Agent : ตัวก่อเกิดโรค ได้แก่ - ตัวก่อโรคทางฟิสิกส์ , เคมี , เชื้อโรค ปัจจัย : - ปริมาณของตัวก่อโรค - ความรุนแรง - ระยะเวลาที่สัมผัส

Environment : สิ่งแวดล้อม - ทางกายภาพ - ทางเคมี ในน้ำ พื้นดิน อากาศ - ทางสังคมเศรษฐกิจ

การกระจายของโรค 1. ตัวแปรด้านบุคคล (Person) : อายุ : เพศ : เชื้อชาติ : อาชีพ : ภาวะทางเศรษฐกิจและสังคม : สถานภาพสมรส : การศึกษา

2. ตัวแปรด้านสถานที่ (Place) : ระหว่างประเทศ : ระหว่างเมือง - ชนบท : ระหว่างภาคหรือจังหวัด : การกระจายในพื้นที่ธรรมชาติ : ในชุมชนที่จำกัด

3.ตัวแปรด้านเวลา (Time) : การระบาดตามฤดูกาล : การระบาดตามรอบปี

การตรวจจับการระบาด แหล่งที่มาของข่าวการระบาด: เครือข่าย SRRT บุคคลากรที่ดูแลผู้ป่วย ข้อมูลการเฝ้าระวังโรค ประชาชน สื่อต่างๆ : Newspaper, TV, Internet

ทำอย่างไรจึงจะป้องกันควบคุมโรคได้? โรคนี้ เป็นปัญหาหรือไม่ โรคนี้ เกิดกับใคร เกิดที่ไหน เกิดจากเชื้ออะไร ป่วยได้อย่างไร มีวิธีควบคุมอย่างไร มีวิธีป้องกันอย่างไร

Surveillance : General principles ด้านการดูแลรักษา ด้านสาธารณสุข ประเมินผล วิเคราะห์ แปรผล 506 SRRT เรื่องน่าเบื่อ Reporting Feedback ข้อมูลผู้ป่วย ฐานข้อมูล ตัดสินใจ action

นิยามการระบาด อย่างไรคือปกติ? การระบาดคือ การมีผู้ป่วยจำนวนที่มากกว่าปกติกว่าที่คาดหมายไว้ ในสถานที่ และ เวลานั้น อย่างไรคือปกติ? What is the outbreak? By the definition, the outbreak is the …………………. The number of case is higher than we expected to see in a specific time, and specific area As a surveillance man, as an out break investigator, I have to know What is the normal expectancy of this, those, that diseases in Thailand.

การมีผู้ป่วยมากกว่าปกติ เทียบกับ ค่า Median จำนวนผู้ป่วย ณ ช่วงเวลาเดียวกัน 5 ปีย้อนหลัง Usually, the normal expectancy is defined as

การหาค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง ตาราง จำนวนผู้ป่วยโรคปอดอักเสบจำแนกตามรายเดือน จังหวัดแห่งหนึ่ง 2550 2549 2548 2547 2546 มกราคม 10933 12202 10941 12306 12993 กุมภาพันธ์ 10430 9610 11221 13823 11946 มีนาคม 10540 11691 10002 13538 12270

Surveillance Information for action รวดเร็ว ถูกต้อง รายงานทางด้านสถิติ

บางครั้งการพบผู้ป่วยเพียงรายเดียวก็อาจเป็นการระบาด Emerging / Re-emerging diseases 1997: A 3-year old boy, case of Avian Flu (H5N1) in Hong Kong alerted the public health people around the world to start a full scale investigation. Consider to be an outbreak also included emerging diseases A single case of disease that has never been occurred before. For example, before 1997, the h5n1 influenza had been known as the disease among poultry. Then one day in 1997, It had a human case confirmed H5N1 infection. This is urgent and need investigation

นิยามศัพท์ Endemic = การเกิดโรคเป็นประจำในท้องถิ่น Epidemic = Outbreak Cluster = ความเป็นกลุ่มก้อนของผู้ป่วยตามบุคคล, เวลา, สถานที่ Pandemic = การระบาดที่ขยายวงกว้างไปหลายประเทศ, หลายภูมิภาคทั่วโลก

กำหนดมาตรการควบคุมโรค หลักการควบคุมโรค การสอบสวนทางระบาดวิทยา กำหนดมาตรการควบคุมโรค สามารถกระทำได้ตั้งแต่เริ่มมีการระบาด กำจัด / ควบคุมแหล่งโรค แหล่งแพร่เชื้อ ตัดทางแพร่กระจาย (Mode transmission) ปกป้องประชากรกลุ่มเสี่ยง

การเตรียมทีม เตรียมทีมและบทบาทหน้าที่ของสมาชิก ทีมในสนาม (ออกพื้นที่) ได้แก่ หัวหน้าทีม นักระบาดวิทยา logistics ทีมสัมภาษณ์ เก็บสิ่งส่งตรวจ ฯลฯ ทีมนอกสนาม (สนับสนุน) ได้แก่ แพทย์ ที่ปรึกษาทีม ผู้เชี่ยวชาญ ทีมห้องปฏิบัติการ ฯลฯ กำหนด วัตถุประสงค์ ของการออกสอบสวนโรค เครื่องมือและความรู้ที่จำเป็น เช่น แบบสอบสวนโรค อุปกรณ์เก็บและนำส่งสิ่งส่งตรวจ ยาและเวชภัณฑ์ต่างๆ ช่องทางการติดต่อสื่อสาร