งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบาดวิทยา Epidemiology.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบาดวิทยา Epidemiology."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบาดวิทยา Epidemiology

2 ความหมาย การศึกษาเกี่ยวกับการกระจาย ( Distribution ) ของปัญหาสุขภาพหรือโรคและมีปัจจัยองค์ประกอบ (Determinants ) ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดปัญหาสุขภาพหรือโรคนั้น

3 การกระจายของโรค ( Distribution )
เวลา ( TIME ) เมื่อไร นานแค่ไหน สถานที่ (PLACE) ที่ไหน บุคคล (PERSON ) อายุ เพศ อาชีพ เชื้อชาติ

4 ปัจจัยองค์ประกอบการเกิดโรค
Agent Host Environment

5 HOST ( มนุษย์ ) องค์ประกอบของมนุษย์ที่เกี่ยวข้องต่อความไวในการเกิดโรค ( susceptibility ) ได้แก่ อายุ เพศ พันธุกรรม ประสบการณ์การเกิดโรค องค์ประกอบของร่างการและจิตใจ พฤติกรรม

6 AGENT(สิ่งที่ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพหรือโรค )
องค์ประกอบหรือปัจจัยทางระบาดวิทยาที่เป็นสาเหตุของการเกิดปัญหาสุขภาพหรือโรค อาจเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีก็ได้ กายภาพ ( phisical) ความร้อน เย็น แสง สารเคมี (chemical ) มลพิษ สิ่งระคายเคือง ชีวภาพ (biological) เชื้อโรคต่างๆ แมลง พืช

7 ENVIRONMENT(สิ่งแวดล้อม )
สิ่งที่อยู่รอบตัวที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ การดำรงชีวิต เช่น สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ลักษณะทางสังคม ประเพณี จารีต

8 Stage of Infectious Disease
Stage of susceptibility Stage of presymtomatic disease Stage of clinical disease Stage of disability

9 Level of Prevention Primary prevention Health promotion
Specific Protection Secondary prevention Screening test Early diagnosis and prompth treatment Tertiary prevention Rehabilitation/prevent complication

10 หลักการป้องกันโรค 10 Prevention 2 0 Prevention 3 0 Prevention
Lead time Asymptom Disease Symptomatic Disease No Disease W D Time Complication Disability Death Infected Symptoms Screening test Diagnosed & Treated Technology Management Community Participation Technology Management Community Participation Active Case Finding & Prompt Treatment

11 Definition of disease in community
Endemic disease common in community Sporadic specific disease distribute in some area Epidemic abnormal event in period of time Pandemic disease spreads worldwide

12 กิจกรรมทางระบาดวิทยา (Activities in epidemiology)
การเฝ้าระวัง Epidemiological Surveillance การสอบสวนควบคุมโรคEpidemiological Investigation การศึกษาทางระบาดวิทยา Epidemiological Study

13 ชนิดการเฝ้าระวัง (Type of Surveillance)
Passive Surveillance ( เชิงรับ) routine reporting Active Surveillance (เชิงรุก) specific disease Special Surveillance (พิเศษ) Sentinel Surveillance

14 การสอบสวนโรค Disease Investigation
การสอบสวนโรคเฉพาะราย Individual Case Investigation การสอบสวนการระบาด Outbreak Investigation

15 วัตถุประสงค์ การสอบสวนโรคเฉพาะราย
ยืนยันการวินิจฉัย ทราบปัจจัยเกี่ยวกับการเกิด โรครายนั้น

16 วัตถุประสงค์ การสอบสวนการระบาด
ยืนยันการวินิจฉัย ยืนยันการระบาด ทราบลักษณะการระบาดของโรค ทราบปัจจัยเกี่ยวกับการเกิดโรครายนั้น

17 ขั้นตอนการสอบสวนโรค ยืนยันการวินิจฉัยโรค :นิยาม ยืนยันการระบาดของโรค
วิเคราะห์ลักษณะการระบาด การรายงานการสอบสวนโรค

18 ยืนยันการวินิจฉัยโรค
คำนิยามของโรค ประวัติการเจ็บป่วย (ระยะฟักตัว) อาการทางคลินิก ผลการตรวจทางห้องทดลอง

19 ยืนยันการระบาด คำนิยามของโรค ประวัติการเจ็บป่วย (ระยะฟักตัว)
อาการทางคลินิก ผลการตรวจทางห้องทดลอง พบผู้ป่วยเหมือนกันจำนวนมาก

20 สถานการณ์ไข้เลือดออก(DHF+DF+DSS) เขต เปรียบเทียบค่ามัธยฐาน( ), 2544, มค.- พย.2545(สัปดาหที่48) จำนวน(ราย) 11719/26

21 สถานการณ์โรคเลปโตสไปโรซิส เขต 6 ปี 2543 - 2545 (มค - พย
สถานการณ์โรคเลปโตสไปโรซิส เขต 6 ปี (มค - พย.) สัปดาห์ที่ 48 จำนวนป่วย 1976 /25

22 การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา
ยืนยันการวินิจฉัย ยืนยันการระบาด เสนอข้อมูลเชิงพรรณนา เวลา - คน – สถานที่ : ตั้งสมมุติฐาน พิสูจน์สมมติฐาน

23 พิสูจน์สมมติฐาน ความสอดคล้องกับเหตุปัจจัย ความสอดคล้องกับเวลา
ความสอดคล้องเชิงชีววิทยา

24 อัตราตายตามกลุ่มอายุ
Case Fatality Rate Age อัตราตายตามกลุ่มอายุ %

25 การรายงานการสอบสวนโรค
Title Author Abstract Introduction Objective Methodology Result Discussion Suggestion Acknowledgement

26 การควบคุมโรคติดต่อ Control of Communicable Diseases
กวาดล้าง (Eradication) กำจัด (Elimination) ควบคุม (Control)

27 วิธีการควบคุมโรคติดต่อ
กระทำต่อเชื้อก่อโรค กระทำต่อคน กระทำต่อสิ่งแวดล้อม มาตรการทางกฎหมาย

28 การกระทำต่อเชื้อก่อโรค
กำจัดแหล่งรังโรค - พาหะ รักษาเฉพาะโรค การแยกโรค การกักกันโรค

29 การกักกันโรค โรคหัด - 5 วันหลังมีผื่นขึ้น
โรคหัด - 5 วันหลังมีผื่นขึ้น หัดเยอรมัน - 5 วันหลังมีผื่นขึ้น ไข้สุกใส - 7 วันหลังมีผื่นขึ้น ไอกรน - 2 สัปดาห์หลังมีไอกรน คางทูม - ต่อมน้ำลายยุบบวม โปลิโอ - ไม่มีไข้

30 การกระทำต่อคน เพิ่มภูมิคุ้มกันต่อโรค - Active Immunization - Passive Immunization ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขศึกษา

31 การกระทำต่อสิ่งแวดล้อม
การกำจัดเชื้อก่อโรค Physical - Biological - Chemical การควบคุมแมลงนำโรค การปรับปรุงสุขาภิบาล อาหาร - น้ำดื่ม - น้ำเสีย - ขยะ

32 การศึกษาทางระบาดวิทยา Epidemiological Study
การศึกษาเชิงพรรณนา : ศึกษาการกระจายขององค์ประกอบ เช่น การศึกษาแบบภาคตัดขวาง การศึกษา KAP หาอัตราชุก ( prevalence ) หาอุบัติการณ์ ( incidence ) การศึกษาเชิงวิเคราะห์ : หาความสัมพันธ์ เช่น การศึกษาแบบภาคตัดขวาง เชิงวิเคราะห์ การศึกษาย้อนจากผลไปหาเหตุ (retrospective ; case control ) การศึกษาจากสาเหตุไปหาผล(prospective ; cohort study ) การศึกษาเชิงทดลอง : ใส่องค์ประกอบที่สนใจ

33


ดาวน์โหลด ppt ระบาดวิทยา Epidemiology.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google