E-learning วิทยาลัยราชพฤกษ์
อาจารย์ สุวิสาข์ เหล่าเกิด วิชานวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา ระบบ e-learning วิทยาลัยราชพฤกษ์ จัดทำโดย นางสาวกัญชรสอินาลา นางสาวพัชรินทร์ดาสี นางสาวศรัญญาแสนคำ นางสาวหทัยชนกสมศรี นางสาวปริชาติคำขชิก เสนอ อาจารย์ สุวิสาข์ เหล่าเกิด วิชานวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา
ระบบ e – learningของวิทยาลัยราชพฤกษ์ มาตรฐานหลัก 3 ประการคือ กระแสของการเรียนรู้ ในยุคของสารสนเทศ (Information Age) เปลี่ยนแปลงไปอย่าง รวดเร็วมาก แหล่งการเรียนรู้ไม่มีข้อจำกัดในเรื่องของเวลา สถานที่ และภูมิศาสตร์อีก ต่อไป เนื่องจากมีการนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วย ทำให้การเรียนรู้ง่าย สะดวกและรวดเร็ว ที่เราเข้าใจกันในนาม การเรียนรู้ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ Electronic Learning หรือ e-Learning สำหรับในมหาวิทยาลัย การเรียนในห้องเรียน เป็นหลักสำคัญอย่างยิ่งยวดส่วนหนึ่ง เพราะทำให้นักศึกษาได้สัมผัสสถานการณ์ชีวิตจริง กับอาจารย์ผู้สอนโดยตรง แต่ทุกมหาวิทยาลัยต่างก็สร้างระบบ e-Learning ขึ้นมา เพื่อ ช่วยและสนับสนุนนักศึกษาด้วยกันทั้งนั้น เช่น ในบางกรณีนักศึกษาบางคนไม่ได้เข้า เรียน หรือเรียนไม่ทัน ก็สามารถมาใช้ระบบ e-Learning นี้เรียนทบทวนบทเรียนต่างๆ ได้ ระบบ e-Learning มีองค์ประกอบม มาตรฐานหลัก 3 ประการคือ
และการเรียกข้อมูลออกมาใช้ตามวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ 1. อภิข้อมูล (Metadata) คือเป็นส่วนของข้อมูลที่ใช้ควบคุมข้อมูล ที่มีลักษณะบ่ง บอกให้รู้ว่า ข้อมูล นี้เป็นประเภทอะไรบ้าง ใครเป็นผู้สร้าง หรือนำข้อมูลใช้เพื่ออะไร เม ตะจึงเป็นส่วนที่ใช้ อธิบายรายละเอียดของตัวข้อมูล (ยืน ภู่วรวรรณ : 2545 : 264) ผู้พัฒนาระบบส่วนใหญ่ลง ความเห็นร่วมกันว่า Metadata เป็นหัวใจของระบบ e- Learning (Heart of e-Learning) ซึ่งมีส่วนช่วยสนับสนุนในด้านดรรชนี , การจัดเก็บ, การค้นหาข้อมูล และการเรียกข้อมูลออกมาใช้ตามวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ 2. สวนประกอบของเนื้อหา (Content Packaging) คือ ส่วนที่ประกอบไปด้วย วัตถุประสงค์ของ การเรียน และสารสนเทศ ที่จะบอกให้รู้ว่า จะเอาอะไรใส่เข้าไปในแต่ละบทเรียน ซึ่งก็จะ มีกฏระเบียบตามแต่ชนิดสำหรับถ่ายโอนส่วนประกอบของเนื้อหาในบทเรียนไปยัง ผู้เรียน
อาจารย์สามารถเข้าไปสร้างขึ้นใหม่ได้ด้วยตัวเอง การสร้างรายวิชาใหม่ (Create a New Course) หมายถึง รายวิชาใดที่ยังไม่มีในระบบ อาจารย์สามารถเข้าไปสร้างขึ้นใหม่ได้ด้วยตัวเอง ระบบจัดการรายวิชา (Course Management) อาจารย์สามารถเข้าไปทำการจัดการราย วิชาที่ตัวเองสอน เช่น การเข้าไปเพิ่มเนื้อหาของบทเรียน
ขั้นตอนการเข้าระบบ e-learningของวิทยาลัยราชพฤกษ์ ขั้นตอนการเข้าระบบ e-learningของวิทยาลัยราชพฤกษ์