ส่วนการคลัง สำนักบริหารแผนและการคลัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปรับเปลี่ยนการดำเนินการ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
Advertisements

หน้าที่ความรับผิดชอบ
1. ขั้นตอนการขออนุมัติหลักการ/ โครงการ
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการยืมเงินทดรองจ่ายเงินรายได้
ชื่อกลุ่ม เติมใจให้กัน
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
การเพิ่มประสิทธิภาพ การส่งเบิกสวัสดิการรักษาพยาบาล
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
การนำส่งภาษีผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
โครงการเพิ่มช่องทางการรับชำระเงินค่าหอพัก
โครงการ ขอเอกสารสำคัญได้ภายใน 1 วัน
รายงานผลการดำเนินงาน ๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ – ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕
สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สำนักงานตรวจสอบภายใน
Graduate School Khon Kaen University
ระบบสารสนเทศแผนงานบำรุงทาง
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
ตัวบ่งชี้คุณภาพ สำนักงานอธิการบดี
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
การยืมเงินรองจ่าย งานคลังและพัสดุ คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
ฝ่ายบริการจ่าย-รับ ศูนย์วิทยทรัพยากร
ถุงเงิน ถุงทอง.
ที่มาของโครงการ เจ้าหนี้การค้าในประเทศมากกว่า 5 พันราย ซึ่งเดิมจ่ายชำระด้วย CHQ และเปลี่ยนเป็นการจ่ายชำระหนี้เงินโอน 1,970 ราย พบปัญหา เจ้าหนี้เงินโอนสอบถามรายการจ่ายชำระหนี้
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การให้บริการหลักฐานการศึกษา แบบ One Stop Service สำนักทะเบียนนักศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ นำเสนอโดย อ.พรพรรณ ศุภภิญโญพงศ์ อ.ปุษยาพร อุทัยพยัคฆ์
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
ตามขั้นตอนการให้บริการสาธารณสุข สิทธิสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น
ผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การถ่ายทอดองค์ความรู้งานพัสดุ วันที่ 21 มิถุนายน 2556 ณ ห้องบริการคอมพิวเตอร์ ชั้น 2 อาคารสารสนเทศ ตั้งแต่เวลา น. เป็นต้นไป จัดทำโดย ขั้นตอนการแจ้งซ่อม.
วิเคราะห์จากข้อมูลหรือรายงานทางการเงิน
โครงการ RID-CEO กลุ่มสชป กลุ่มทักษิณ.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
ขั้นตอนการดําเนินงานของกองคลังที่เกี่ยวข้องกับ หน่วยงานอื่น
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
ระบบการเบิก-จ่าย ลูกหนี้เงินยืม
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
งบประมาณ แผ่นดิน เงินรายได้ แหล่งทุนภายนอก.
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 1325/2552)
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
การจัดทำเอกสารเบิกจ่ายเงินวิจัย
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
Assessment and Evaluation System
กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ข้อสังเกตจากการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
การบริหารเงินทดรองจ่ายหมุนเวียนภายในส่วนงาน
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการคลังท้องถิ่น จังหวัดนครราชสีมา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ส่วนการคลัง สำนักบริหารแผนและการคลัง โครงการพัฒนาคุณภาพงาน การเบิกจ่ายเงินสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลและค่าเล่าเรียนบุตร ส่วนการคลัง สำนักบริหารแผนและการคลัง

สมาชิก OD 4 กลุ่มสายงานการเงิน

โครงสร้างหน่วยงาน และภารกิจหลัก สำนักบริหารแผนและการคลัง ส่วนการงบประมาณ ส่วนการคลัง ส่วนการพัสดุ กิจกรรมธุรการ สายงานวิเคราะห์ โครงการ สายงานการเงิน สายงานจัดหาพัสดุ สายงานแผนงานและ สารสนเทศ สายงานการบัญชี สายงานทะเบียนและ ตรวจสอบพัสดุ สายงานติดตามและ ประเมินผล ภารกิจหลัก การรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงิน

รอนาน ? ต้องกรอกแบบฟอร์ม ? การเบิกจ่ายเงินสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลและ ค่าเล่าเรียนบุตร (ก่อนปรับปรุง) รอนาน ? ข้าราชการบำนาญ ข้าราชการ สนม. ลูกจ้างประจำ สนม. ต้องกรอกแบบฟอร์ม ? ขั้นที่1 กรอกแบบฟอร์มการเบิกเงินสวัสดิการฯ ขั้นที่2 ตรวจแบบฟอร์มการเบิกเงินสวัสดิการฯ และเอกสารประกอบการเบิกเบื้องต้น ขั้นที่3 ตรวจแบบฟอร์มการเบิกเงินสวัสดิการฯ และเอกสารประกอบการเบิกตามระเบียบ ขั้นที่4 รับเงินสดและลงนามรับเงินในสมุดเขียว (นำไปเบิกคืนเงินยืมรองจ่ายต่อไป) ส่งเรื่องขออนุมัติเบิกจ่าย โดยจ่ายเป็นเช็คต่อไป ขั้นที่5 กลับมารับเช็คและนำไปขึ้นเงิน กรณี ไม่เกิน 20,000 บาท กรณี เกิน 20,000 บาท ใช้เวลาประมาณ 25-30 วัน Min 50 ต่อวัน Max 200 ต่อวัน รวมประมาณ 3,000 คน ใช้เวลาเฉลี่ย 15 นาที

การพัฒนาคุณภาพงาน โดย จนท. สายงานการเงิน 4 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ลดเวลาขั้นที่ 1-4 กรณีจ่ายด้วยเงินสดเหลือ 10 นาที กลุ่มที่ 3 ลดเวลาขั้นที่ 4 กรณีจ่ายด้วยเช็ค/โอน จากเดิม 20 วัน เหลือ 15 วัน (ลดได้เหลือ 12 วัน) ขั้นที่1 กรอกแบบฟอร์มการเบิกเงินสวัสดิการฯ ขั้นที่2 ตรวจแบบฟอร์มการเบิกเงินสวัสดิการฯ และเอกสารประกอบการเบิกเบื้องต้น กลุ่มที่ 2 ลดจำนวนครั้งที่ไม่สามารถเบิกเงินสวัสดิการได้ เนื่องจากไม่ทราบวันเวลาให้บริการ หรือเอกสารไม่ครบถ้วนถูกต้อง โดยประชาสัมพันธ์ (ลดได้จาก 6.15 % เหลือ 1.73 %) กลุ่มที่ 4 ลดเวลาและเพิ่มความสะดวก โดยเพิ่มทางเลือกโดยการจ่ายตรง ซึ่งไม่ต้องมีขั้นที่ 5 (ลดได้จาก 7 วัน เหลือ 5 วัน) ขั้นที่3 ตรวจแบบฟอร์มการเบิกเงินสวัสดิการฯ และเอกสารประกอบการเบิกตามระเบียบ กรณี เกิน 20,000 บาท กรณี ไม่เกิน 20,000 บาท ขั้นที่4 ส่งเรื่องขออนุมัติเบิกจ่าย โดยจ่ายเป็นเช็คต่อไป ขั้นที่4 จ่ายเงินสดและบันทึกในสมุดเขียว (นำไปเบิกคืนเงินยืมรองจ่ายต่อไป) ขั้นที่5 กลับมารับเช็คและนำไปขึ้นเงิน

ร้อยเรียงการพัฒนาคุณภาพงาน 4 กลุ่ม โดยระดับบริหารและระดับปฏิบัติการ P D C A C-RISE Combine Rearrange Invention Simplify Eliminate กลุ่มที่ 4 ลดเวลาและเพิ่มความสะดวก โดยเพิ่มทางเลือกโดยการจ่ายตรง ซึ่งไม่ต้องมีขั้นที่ 5 (ลดได้จาก 7 วัน เหลือ 5 วัน) กลุ่มที่ 3 ลดเวลาขั้นที่ 4 กรณีจ่ายด้วยเช็ค/โอน จากเดิม 20 วัน เหลือ 15 วัน (ลดได้เหลือ 12 วัน) กลุ่มที่ 2 ลดจำนวนครั้งที่ไม่สามารถเบิกเงินสวัสดิการได้ เนื่องจากไม่ทราบวันเวลาให้บริการ หรือเอกสารไม่ครบถ้วนถูกต้อง โดยประชาสัมพันธ์ (ลดได้จาก 6.15 % เหลือ 1.73 %) กลุ่มที่ 1 ลดเวลาขั้นที่ 1-4 กรณีจ่ายด้วยเงินสด เหลือ 10 นาที

ร้อยเรียงการพัฒนาคุณภาพงาน 4 กลุ่ม P พัฒนาระบบการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการฯ โดย จนท. สนง. ระบบการจัดการทรัพยากรมหาวิทยาลัย (OERP) ผู้รับบริการ บัตรประจำตัวประชาชน/ บัตรประจำตัวข้าราชการบำนาญ เอกสารประกอบการเบิกเงิน ขั้นที่ 1 กรอกข้อมูลผู้รับบริการในระบบ โดยใช้ข้อมูลบุคคลจาก CU-HR และสอบถามเพิ่มเติม ตรวจสอบข้อมูลตามระเบียบด้วยระบบ พิมพ์แบบฟอร์มการเบิกเงินสวัสดิการฯ ขั้นที่ 2 จ่ายเงินให้กับผู้รับบริการ ขั้นที่ 3 จัดทำรายงานการจ่ายเงินสวัสดิการแยกตามประเภทบุคลากร พร้อมปิดบัญชียอดจ่ายเงินประจำวัน ขั้นที่ 4 จัดทำเอกสารเพื่อเบิกคืนเงินยืมรองจ่ายประจำวัน บันทึกเอกสารตั้งเบิกเข้าระบบ CU-ERP โดยใช้ข้อมูลที่บันทึกในขั้นที่ 1 เบิกจ่ายภายใน10 นาที เป้าหมาย สร้างความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการ ลดระยะเวลาการเบิกเงินรองจ่ายสวัสดิการค่ารักษาพยาบาล และค่าเล่าเรียนบุตร (กรณีไม่เกิน 20,000 บาท จ่ายด้วยเงินสด) ให้เหลือ 10 นาที เงื่อนไข สำหรับการจ่ายด้วยเงินสด วงเงินไม่เกิน 20,000 บาท ผู้รับบริการมาติดต่อด้วยตนเอง

Before After C-RISE นำ IT มาช่วย ไม่ต้องกรอกแบบฟอร์มฯ ขั้นที่1 กรอกแบบฟอร์ม ขั้นที่ 1 กรอกข้อมูลผู้รับบริการในระบบ ตรวจสอบข้อมูลตามระเบียบด้วยระบบ พิมพ์แบบฟอร์มการเบิกเงินสวัสดิการฯ C-RISE นำ IT มาช่วย ไม่ต้องกรอกแบบฟอร์มฯ รวม 3 ขั้นตอนเติม เข้าเป็น 1 ขั้นตอน นำเข้าข้อมูลในระบบครั้งเดียว ยกเลิกสมุดเขียว ปรับเปลี่ยนทัศนะคติในการทำงาน จนท.มีทักษะที่หลากหลาย ขั้นที่2 ตรวจแบบฟอร์มฯ และเอกสารประกอบการเบิกเบื้องต้น ขั้นที่3 ตรวจแบบฟอร์มฯและเอกสารประกอบการเบิกตามระเบียบ ขั้นที่ 2 จ่ายเงินให้กับผู้รับบริการ เกิน 20,000 บาท ไม่เกิน 20,000 บาท ขั้นที่ 3 จัดทำรายงานการจ่ายเงินสวัสดิการแยกตามประเภทบุคลากร พร้อมปิดบัญชียอดจ่ายเงินประจำวัน ขั้นที่4 ส่งเรื่องขออนุมัติเบิกจ่าย โดยจ่ายเป็นเช็คต่อไป ขั้นที่4 รับเงินสด (นำไปเบิกคืนเงินยืมรองจ่าย) รายละเอียดปัญหาก่อนปรับปรุง และการปรับปรุง ขั้นที่5 กลับมารับเช็คและนำไปขึ้นเงิน ขั้นที่ 4 จัดทำเอกสารเพื่อเบิกคืนเงินยืมรองจ่ายประจำวัน บันทึกเอกสารตั้งเบิกเข้าระบบ CU-ERP โดยใช้ข้อมูลที่บันทึกในขั้นที่ 1

นำระบบการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการฯ ขึ้นใช้งาน 2 สิงหาคม 2553 D เตรียมช่องบริการด้วยระบบ 2 ช่อง เตรียมช่องทางการให้บริการแบบ Manual ไว้ 2 ช่อง เพื่อลดปัญหาผู้รับบริการต้องรอนาน กรณีเอกสารประกอบการเบิก(ใบเสร็จ) มีจำนวนมาก หรือกรณีกรอกแบบฟอร์มมาก่อนแล้ว

การติดตามผล C เป้าหมาย 10 นาที 30 ส.ค.-8 ก.ย. 53 195 15.33 9.87 1. สำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ 3. ความพึงพอใจด้านสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก 2. เก็บข้อมูลรอบเวลาการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลและค่าเล่าเรียนบุตร   ความถี่ AVG STDEV จันทร์ 30 ส.ค. 53 37 7.84 2.99 พุธ 1 ก.ย. 53 34 18.18 11.61 ศุกร์ 3 ก.ย. 53 42 17.07 8.64 จันทร์ 6 ก.ย. 53 23 9.48 5.37 พุธ 8 ก.ย. 53 59 19.42 10.32 30 ส.ค.-8 ก.ย. 53 195 15.33 9.87 เป้าหมาย 10 นาที

วิเคราะห์ปัญหารอบเวลาการเบิกจ่ายไม่ได้ตามเป้าหมาย และแนวทางแก้ไขต่อไป A รวบรวมปัญหาและปรับปรุงระบบงาน ระบบงาน/ข้อมูล จนท. ขาดความชำนาญ ระบบไม่สมบูรณ์ ข้อมูลบุคลากร ไม่เป็นปัจจุบัน รู้ระเบียบฯ ไม่เท่ากัน ยังไม่เอื้อให้เกิด ความคล่องตัว ช่องบริการ computer น้อยเกินไป สถานที่และอุปกรณ์ กระบวนการ/วิธีการ เพิ่มช่องบริการ computer อีก 2 ช่อง รวมเป็น 4 ช่อง เพิ่มแบบฟอร์มกรอกข้อมูลเบื้องต้น (เบอร์โทร อาการป่วยที่ขอเบิกค่ารักษาพยาบาล) เพื่อลดรอบ

ปรับปรุงการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการฯ ครั้งที่ 2 ตั้งแต่ 13 ตุลาคม 2553 D

ติดตามผลการปรับปรุงครั้งที่ 2 C 1. สำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ 3. ความพึงพอใจด้านสถานที่และสิ่ง..

ติดตามผลการปรับปรุงครั้งที่ 2 C 2. เก็บข้อมูลรอบเวลาการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลและค่าเล่าเรียนบุตร  ครั้งที่1 ความถี่ AVG STDEV จันทร์ 30 ส.ค. 53 37 7.84 2.99 พุธ 1 ก.ย. 53 34 18.18 11.61 ศุกร์ 3 ก.ย. 53 42 17.07 8.64 จันทร์ 6 ก.ย. 53 23 9.48 5.37 พุธ 8 ก.ย. 53 59 19.42 10.32 30 ส.ค.-8 ก.ย. 53 195 15.33 9.87 ครั้งที่2 ความถี่ AVG STDEV ศุกร์ 26 พ.ย. 53 46 11.57 5.49 จันทร์ 29 พ.ย. 53 32 11.41 8.93 พุธ 1 ธ.ค. 53 57 10.84 5.00 ศุกร์ 3 ธ.ค. 53 12.54 5.60 26 พ.ย.-3 ธ.ค. 53 192 11.61 6.08 เป้าหมาย 10 นาที

สิ่งที่ได้เรียนรู้ การวิเคราะห์งานและปรับปรุงงานอย่างมีระบบเป็นขั้นตอน พร้อมเทคนิคและทัศนคติใหม่ๆ การพัฒนาตนเอง การเรียนรู้ร่วมกัน และการยอมรับความคิดเห็นของสมาชิกในกลุ่ม การปรับปรุงงานที่มุ่งเน้นผู้รับบริการเป็นหลัก โดยไม่ได้มองแค่งานในขั้นตอนที่ตนเองรับผิดชอบ การนำ PDCA ไปใช้ในการปรับปรุงงาน บริหารงาน และจัดการงานอย่างครบวงจร และเห็นควรทำอย่างต่อเนื่อง จนท.ผู้ปฏิบัติงานเป็นเจ้าของการพัฒนางาน โดยมีหัวหน้างานแต่ละระดับชั้นเป็นผู้สนับสนุนจะเอื้อให้สำเร็จมากขึ้น