การขับเคลื่อนกำลังคนกลุ่มอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์สาขาระบบสมองกลผังตัว (Embedded System)
ความต้องการกำลังคนสาขาระบบสมองกลฝังตัว จำนวน 20,000 คน - ยังไม่มีการผลิตกำลังระดับ ปวช. ปวส. - มีกำลังคนระดับปริญญาตรี ประมาณ 1,000 คน/ปี
ปีงบประมาณ 2547 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยสำนักพัฒนา สมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา ร่วมกับสมาคมสมองกลฝังตัวไทย (TESA) ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และมหาวิทยาลัยบูรพา - ฝึกอบรมระบบสมองกลฝังตัว ให้ครู-อาจารย์ และผู้ประกอบการ นิคมอุตสาหกรรมลำพูน จำนวน 3 รุ่น รวม 88 คน (19-30 มีนาคม 2547 ณ โรงแรมเชียงใหม่ฮิลด์ จ.เชียงใหม่ โดย สสอ.)
- ขยายผลการฝึกอบรมระบบสมองกลฝังตัว ให้ครู-อาจารย์กลุ่มภาคตะวันออกและภาคกลางบางส่วน ร่วมกับบุคลากรมหาวิทยาลัย จำนวน 1 รุ่น รวม 50 คน (23-27 สิงหาคม 2547 ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์มหาวิทยาลัยบูรพา จ.ชลบุรี โดย สสอ.)
สิ่งที่ได้รับจากการฝึกอบรม ครู-อาจารย์ มีความรู้เข้าใจระบบสมองกลฝังตัวในการควบคุมกระบวนการผลิต ครู-อาจารย์มีส่วนร่วมพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาระบบสมองกลฝังตัว (ระดับปริญญาตรี มีหลักสูตรแล้ว) ส่งครู-อาจารย์ฝึกงานสถานประกอบการด้านสมองกล ฝังตัว จ.ระยอง
งานสถานประกอบการ ประสานอาชีวะ : พลังขับเคลื่อนกำลังคนของประเทศ กลุ่มอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ที่เป็นอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ของชาติ - กลุ่มซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ (Transaction Software) - กลุ่มซอฟต์แวร์สมองกลฝังตัว (Embedded Software) - กลุ่มซอฟต์แวร์ดิจิตอลคอนเท็นท์ (Digital Content Software)
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา แถลงข่าวนำเสนอระบบสมองกลฝังตัว “พลังอาชีวะสร้างชาติ” ณ ช่อง 9 อ.ส.ม.ท. ร่วมกับ ผู้อำนวยการเขต อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ (Software Park)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ แถลงข่าวความก้าวหน้างานสถานประกอบการประสานอาชีวะฯ ให้ความสนใจระบบสมองกลฝังตัว เป็นสาขาใหม่ที่แนะนำให้เด็กสนใจ
การทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
การจัดงานกลุ่มอุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์ด้านระบบสมองกลฝังตัว การจัดงานกลุ่มอุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์ด้านระบบสมองกลฝังตัว วันที่ 27-29 ตุลาคม 2548
สรุปสาระกลุ่มอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ จากงานสถานประกอบการฯ สรุปสาระกลุ่มอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ จากงานสถานประกอบการฯ สนองนโยบายรัฐบาล สร้างงาน สร้างรายได้ สร้างอาชีพใหม่ พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ สร้างรายได้ และโอกาสแข่งขันกับนานาชาติ เข้าในการทำงานของซอฟต์แวร์และเขียนซอฟต์แวร์ ทำงานร่วมกับ เครื่องมืออุปกรณ์ ต่างๆ ในงานอุตสาหกรรมและกระบวนการผลิตได้ การนำเทคโนโลยีใหม่มาสร้างหลักสูตรเพื่อพัฒนากำลังคน มีการใช้ซอฟต์แวร์ทุกสาขาวิชาชีพในกระบวนการเรียนการสอน ความก้าวหน้าในอาชีพ ด้านอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์
1. นางสุวิภา วรรณสาธพ เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย พิธีกร การสัมมนาวิชาการ “สถานประกอบการ ประสานอาชีวะ พลังขับเคลื่อนกำลังคนด้านซอฟต์แวร์ของประเทศ” 1. นางสุวิภา วรรณสาธพ เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย พิธีกร 2. นายสมเกียตริ อึงอารี สมาคมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย ด้าน Enterprise 3. นายราเมศร์ ศิลปะพรม สมาคมธุรกิจคอมพิวเตอร์ไทย ด้าน Enterprise 4. นายสันติ เลาหบูรณะกิจ สมาคม Bangkok ACM Siggraph ด้าน Animation 5. ผศ.ดร.อภิเนตร อูนากูล สมาคมสมองกลฝังตัวไทย ด้าน Embedded.
ภาคอุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์มองอาชีวศึกษา จุดเด่น อาชีวศึกษามีกำลังคนที่มีทักษะฝีมือดี มีความอดทนและจำนวนมาก จุดด้อย - ยังไม่มีสาขาวิชาที่ผลิตกำลังคน ตรงตามความต้องการของสถานประกอบการ (ระดับ ปวช., ปวส.) - การขาดความร่วมมือกับสถานประกอบการภาคอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์
สิ่งที่สถานประกอบการกลุ่มอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ให้ความร่วมมือ สิ่งที่สถานประกอบการกลุ่มอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ให้ความร่วมมือ การพัฒนาบุคลากร การทำคุณวุฒิวิชาชีพ (VQ) การสร้างและพัฒนาหลักสูตร การฝึกงานในสถานประกอบการ การสนับสนุนงานเพื่อสร้างรายได้ระหว่างเรียน
หลังงานสถานประกอบประสานอาชีวะฯ Hall 9 เมืองทองธานี กลุ่มอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ด้านสมองกลฝังตัว ประชุมสรุปผลการร่วมงานกับอาชีวศึกษา ช่วยจัดทำรายละเอียดการทำงาน ประสานงานสถานประกอบการต่างๆ
ทำ Mind map ด้านระบบสมองกลฝังตัว
จัดทำปฏิทินปฏิบัติงาน 1-7 พฤศจิกายน 2548 แจ้งสถานประกอบการเข้าร่วมประชุม 8 พฤศจิกายน 2548 ประชุมสถานประกอบการเก็บข้อมูล คุณสมบัติ กำลังคนที่ต้องการ 9-13 พฤศจิกายน 2548 สรุปผลคุณสมบัติกำลังคนที่สถานประกอบการ ต้องการ 14 พฤศจิกายน 2548 จัดทำร่างคุณวุฒิวิชาชีพ (VQ.) /หลักสูตร 18 พฤศจิกายน 2548 ประชุมพิจารณาหลักสูตรร่วมกับคณะครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยต่างๆ
ข้อมูลเพิ่มเติม