หน่วยความจำ (Memory หรือ Storage).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
Advertisements

Inkjet Printer. Inkjet โดย 1. นางสาววิจิตรา ขจร นางสาววิภาพรรณ คิดหมาย นางสาวศรัญญา มิตรเจริญ พันธ์
เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
การเผยแพร่เอกสาร (Publish)
วิชา. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในชีวิตประจำวัน บทที่ 2
1.  Flash เป็นโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพสูง สำหรับงานด้านกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว ตลอดจนมัลติมีเดียสำหรับเว็บ โดย ลักษณะเด่นของภาพเคลื่อนไหวที่ได้จาก โปรแกรม.
บทที่ 4 การนำเสนองาน.
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Microsoft office power point การใช้งาน โปรแกรม Microsoft Power Point.
วิธีการเลือกซื้อ คอมพิวเตอร์. เนื้อหาในส่วนนี้จะให้รายระเอียดและขั้นตอน ในการเลือกซื้อ เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เราได้เครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ตรงกับความ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
Input Output อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นางสาว ผกาวดี ช่วงชุณส่อง เลขที่ 43 นางสาว ธนาภรณ์ คำเรือง เลขที่ 39 นางสาว ณัฐวรรณ ห่วงกลาง.
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
เทคนิคการสร้าง ภาพเคลื่อนไหว คอมพิวเตอร์ Computer Animation ง
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
การออกแบบและเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์กราฟิกเพื่องานออกแบบ
คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ (Computer-Aided Design)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
By Btech GPS : Jan GPS By BtechGPS By Btech GPS : Jan
IP-Addressing and Subneting
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
IP-Addressing and Subneting
บรรยายครั้งที่ 5 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
การเก็บคะแนน 100 คะแนน ก่อนกลางภาค 30 คะแนน สมุดจด.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
จิราพร ด่านเสถียร โรงเรียนบ้านแก่งชัชวลิตวิทยา
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
Integrated Information Technology
Visual Communication for Advertising Week2-4
Basic Input Output System
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
ขอแนะนำ PowerPoint 2007 การแนะนำคุณลักษณะใหม่ๆ.
การจัดเตรียมเครื่องมือและข้อมูล
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
SMS News Distribute Service
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
Storyboard คืออะไร.
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
เรื่องหลักการออกแบบกราฟิก
Storyboard คืออะไร.
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ความงามของศิลปะด้าน จิตรกรรม โดย นายกิตติพงษ์ คงโต โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยความจำ (Memory หรือ Storage)

หน่วยความจำ (Memory หรือ Storage) ถ้าใช้เลขฐานสอง 8 หลัก หรือ 8 บิต จะแทนรหัสได้ 256 แบบ เช่นในรหัส ASCII ตัวอักษร A แทนด้วยรหัส 0100 0001 โดยเรียกกลุ่มตัวเลขที่มี 8 บิตว่า ไบต์ (byte) หน่วยที่ใช้วัด หน่วยความจำ มีดังนี้ 1 KB (Kilobyte กิโลไบต์) = 1024 Byte 1 MB (Megabyte เมกกะไบต์ ) = 1024 KB 1 GB (Gigabyte กิกะไบต์) = 1024 MB 1 TB (Terabyte เทอราไบต์) = 1024 GB

ข้อมูลในแต่ละหน่วยความจำ บิต (Bit) เป็นหน่วยวัดข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด โดยแต่ละบิตจะถูกแสดงด้วยตัวเลขไบนารี (Binary Digits) หรือเลขฐานสองคือ “0″ หรือ “1″ ซึ่งจะบ่งบอกถึงสถานะการทำงานนั่นเอง ไบต์ (Byte) เป็นหน่วยวัดพื้นฐานที่สามารถพบเห็นได้ทั่วไป โดย 1 ไบต์จะมีขนาด 8 บิต ใช้แทนตัวอักษรใดๆเช่น ตัวเลข, พยัญชนะ หรือสัญลักษณ์ต่างๆได้ 1 ตัว กิโลไบต์ (Kilobyte ตัวย่อ KB) จะมีค่าเท่ากับ 1,024 ไบต์ หรือประมาณ 1,000 ไบต์ เทียบเท่ากับตัวอักษรประมาณ 1,000 ตัว หรือประมาณ 1 หน้ากระดาษ เมกกะไบต์ (Megabyte ตัวย่อคือ MB) จะมีค่าประมาณ 1,000 กิโลไบต์ หรือประมาณ 1 ล้านไบต์ เทียบเท่ากับตัวอักษรประมาณ 1 ล้านตัว หรือประมาณหนังสือ 1 เล่ม กิกะไบต์ (Gigabyte ตัวย่อคือ GB) เป็นหน่วยวัดที่มักใช้บอกความจุข้อมูลของอุปกรณ์จำพวก ฮาร์ดดิสต์, ยูเอสบีไดรว์, แผ่นดีวีดี และอื่นๆ โดยจะมีค่าประมาณ 1,000 เมกกะไบต์หรือประมาณ 1 พันล้านไบต์เทียบเท่ากับตัวอักษรประมาณ 1 พันล้านตัวหรือประมาณหนังสือที่ถูกบรรจุอยู่ในตู้หนังสือจำนวน 1 ตู้ เทอราไบต์ (Terabyte ตัวย่อ TB) เป็นหน่วยวัดข้อมูลที่มีขนาดใหญ่มาก ปัจจุบันฮาร์ดดิสต์บางรุ่นเท่านั้นที่มีความจุมากถึงระดับนี้ โดยเทอราไบต์จะมีค่าประมาณ 1,000 กิกะไบต์ หรือประมาณ 1 ล้านล้านไบต์ เทียบเท่ากับตัวอักษรประมาณ 1 ล้านล้านตัว หรือประมาณหนังสือทั้งหมดที่ถูกบรรจุอยู่ในห้องสมุด 1 ห้อง

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก graphic design

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก พิกเซล ( Pixel) หน่วยพื้นฐานของภาพ เทียบได้กับ "จุดภาพ" 1 จุด แต่ละพิกเซลเปรียบได้กับสี่เหลี่ยมเล็กๆ ที่บรรจุค่าสี โดยถูกกำหนดตำแหน่งแนวแกน x และแกน y หรือในตารางเมตริกซ์สี่เหลี่ยม ภาพบิตแมปจะประกอบด้วยพิกเซลหลายๆ พิกเซล จำนวนพิกเซลของภาพแต่ละภาพ จะเรียกว่า ความละเอียด หรือ Resolution โดยจะเทียบ จำนวนพิกเซลกับความยาวต่อนิ้ว ดังนั้นจะมีหน่วยเป็น พิกเซลต่อนิ้ว ( ppi: pixels per inch) หรือจุดต่อนิ้ว ( dpi; dot per inch) ภาพขนาดเท่านั้นแต่มีความละเอียดต่างกัน แสดงว่าจำนวนพิกเซลต่างกัน และขนาดของจุดพิกเซลก็ต่างกันด้วย

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก ความละเอียดของรูปภาพ หมายถึง จำนวนพิกเซลต่อพื้นที่การแสดงผล มีหน่วยเป็นพิกเซลต่อนิ้ว ( pixels per inch - ppi ) โดยพิกเซลจะมีขนาดไม่แน่นอนขึ้นกับอุปกรณ์เอาต์พุต เช่น หน้าจอคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก บิต ( BIT ) Bit ย่อมาจาก Binary Digit หมายถึง หน่วยความจำที่เล็กที่สุดของคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยตัวเลข 2 จำนวน คือ 0 หมายถึงปิด และ 1 หมายถึงเปิด หรือสีขาวและสีดำ ความลึกของบิต ( Bit Depth ) ความลึกของบิต หมายถึง จำนวนบิตที่ใช้ในแต่ละพิกเซล ในกราฟิกแบบบิตแมปสีของพิกเซลถูกบันทึกโดยใช้บิต ถ้าใช้สีมากก็แสดงสีได้มากขึ้น ถ้ามีหน่วยความจำ 2 บิต ในการเก็บรวบรวมข้อมูล สามารถใช้สีได้ทั้งหมด 2 เท่ากับ 4 สี คือ สามารถกลับสีได้ 4 วิธี คือ 00, 01,10 และ 11 ถ้ามี 2 บิต สามารถสร้างสีให้กับพิกเซลทั้งหมด 4 เฉดสี

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก ระบบสี ( Color Model ) ระบบสี Additive ระบบสีของคอมพิวเตอร์ จะเกี่ยวข้องกับการแสดงผลแสงที่แสดงบนจอคอมพิวเตอร์ โดยมีลักษณะการแสดงผล คือ ถ้าไม่มีแสดงผลสีใดเลย บนจอภาพจะแสดงเป็น "สีดำ" หากสีทุกสีแสดงผลพร้อมกัน จะเห็นสีบนจอภาพเป็น "สีขาว" ส่วนสีอื่นๆ เกิดจากการแสดงสีหลายๆ สี แต่มีค่าแตกต่างกัน การแสดงผลลักษณะนี้ เรียกว่า การแสดงสีระบบ Additives สีในระบบ Additive ประกอบด้วยสีหลัก 3 สี (เช่นเดียวกับแม่สี) คือ สีแดง ( Red) สีเขียว (Green) และ สีน้ำเงิน ( Blue) เรียกรวมกันว่า RGB ซึ่งมีรูปแบบการผสมสีของ RGB ดังนี้

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก รูปแบบของไฟล์ กราฟิกไฟล์สำหรับอินเทอร์เน็ต ไฟล์กราฟิกที่สนับสนุนระบบอินเทอร์เน็ต ปัจจุบันมี 3 ไฟล์หลัก ๆ คือ ไฟล์สกุล GIF ( Graphics Interlace File) ไฟล์สกุล JPG ( Joint Photographer's Experts Group) ไฟล์สกุล PNG ( Portable Network Graphics)

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก ไฟล์สกุล GIF (Graphics Interlace File) จุดเด่น มีขนาดไฟล์ต่ำ สามารถทำพื้นของภาพให้เป็นพื้นแบบโปร่งใสได้ ( Transparent) มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียดในระบบ Interlace มีโปรแกรมสนับการสร้างจำนวนมาก เรียกดูได้กับ Graphics Browser ทุกตัว ความสามารถด้านการนำเสนอแบบภาพเคลื่อนไหว ( Gif Animation) จุดด้อย แสดงสีได้เพียง 256 สี

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก ไฟล์สกุล JPG (Joint Photographer’s Experts Group) จุดเด่น สนับสนุนสีได้ถึง 24 bit สามารถกำหนดค่าการบีบไฟล์ได้ตามที่ต้องการ มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียดในระบบ Progressive มีโปรแกรมสนับสนุนการสร้างจำนวนมาก เรียกดูได้กับ Graphics Browser ทุกตัว ตั้งค่าการบีบไฟล์ได้ ( compress files)

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก ไฟล์สกุล JPG (Joint Photographer’s Experts Group) จุดเด่น ทำให้พื้นของรูปโปร่งใสไม่ได้ | ข้อเสียของการบีบไฟล์ ( Compress File) กำหนดค่าการบีบไฟล์ไว้สูง ( 1 - 10) แม้ว่าจะช่วยให้ขนาดของไฟล์มีขนาดต่ำ แต่ก็มีข้อเสีย คือ เมื่อมีการส่งภาพจาก Server ไปแสดงผลที่ Client จะทำให้การแสดงผลช้ามาก เพราะ ต้องเสียเวลาในการคลายไฟล์ ดังนั้นการเลือกค่าการบีบไฟล์ ควรกำหนดให้เหมาะสม กับภาพแต่ละภาพ

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก ไฟล์สกุล PNG (Portable Network Graphics) จุดเด่น สนับสนุนสีได้ถึงตามค่า True color (16 bit, 32 bit หรือ 64 bit) สามารถกำหนดค่าการบีบไฟล์ได้ตามที่ต้องการ มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียด ( Interlace) สามารถทำพื้นโปร่งใสได้

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก ไฟล์สกุล PNG (Portable Network Graphics) จุดด้อย หากกำหนดค่าการบีบไฟล์ไว้สูง จะใช้เวลาในการคลายไฟล์สูงตามไปด้วย แต่ขนาด ของไฟล์จะมีขนาดต่ำ ไม่สนับสนุนกับ Graphic Browser รุ่นเก่า สนับสนุนเฉพาะ IE 4 และ Netscape 4 ความละเอียดของภาพและจำนวนสีขึ้นอยู่กับ Video Card โปรแกรมสนับสนุนในการสร้างมีน้อย

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก 1. Photo Retouching โปรแกรมที่เหมาะสำหรับการแก้ไข ตกแต่งภาพ และ ทำเอฟเฟกต์ให้กับภาพ ที่ได้สร้างขึ้นมาแล้ว ซึ่งอาจจะ มาจากภาพถ่ายจริง ได้แก่ Adobe PhotoShop, Corel Photopaint, PaintShop

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก 2. Graphic Illustrator โปรแกรมสำหรับการออกแบบงานกราฟิก หรืองาน Lay out ซึ่งเป็นงาน สองมิติ มีการเขียนรูปในลักษณะการเน้น เส้นเน้นรูปทรงเรขาคณิต ซึ่งไม่ ใช่รูปถ่ายได้แก่ Adobe Illustrator, CorelDraw

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก 3. Computer Aided Design โปรแกรมสำหรับการเขียนภาพที่แสดงออกถึงมิติ ขนาด ที่ ให้ความชัดเจน ของวัตถุที่ต้องการสร้างขึ้นมา ได้แก่ Auto CAD, Prodesign

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก 4. 3D Photo Realistic โปรแกรมที่สามารถสร้างภาพสามมิติ ที่มีมวลและปริมาตร และมีคุณสมบัติของพื้น ผิว จนเกิดความสมจริงของแสง และเงา ได้แก่ 3D studio MAX, Auto CAD 3D

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก 5. Presentation (POWER POINT) โปรแกรมกราฟิก สำหรับช่วยในการนำเสนองาน ใน ลักษณะเป็นสไลค์ประกอบคำ บรรยาย มีการสร้างภาพ กราฟฟิกที่ดูแล้วเข้าใจง่ายขึ้น เช่น กราฟชนิดต่าง ๆ หรือ การสร้างแผนผังการจัดองค์กร โปรแกรมประเภทนี้ ส่วนมากใช้ในงานธุรกิจ

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก 6. Animation เป็นโปรแกรมสร้างภาพเคลื่อนไหวตามลำดับ โปรแกรมจะ แสดงภาพเป็นลำดับให้ แลดูเหมือนภาพเคลื่อนไหว โดย อาจมีเทคนิคต่างๆ ประกอบการแสดงภาพเช่น การซ้อน ภาพ , เลื่อนภาพ, การเลื่อนภาพให้หายไปได้ และ การ แปลงภาพ รวมถึงมีลักษณะการโต้ตอบกับผู้ใช้ด้วย

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก 6. Animation เป็นโปรแกรมสร้างภาพเคลื่อนไหวตามลำดับ โปรแกรมจะ แสดงภาพเป็นลำดับให้ แลดูเหมือนภาพเคลื่อนไหว โดย อาจมีเทคนิคต่างๆ ประกอบการแสดงภาพเช่น การซ้อน ภาพ , เลื่อนภาพ, การเลื่อนภาพให้หายไปได้ และ การ แปลงภาพ รวมถึงมีลักษณะการโต้ตอบกับผู้ใช้ด้วย

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก คำถาม 1. ข้อใดคือลักษณะภาพแบบ บิตแมป (Bitmap )     ก. เมื่อทำการขยาย ภาพยังคงคมชัดเสมอ     ข. ประกอบไปด้วยพิกเซลเรียงต่อเนื่องกัน ภายในแต่ละพิกเซลจะมี องค์ประกอบที่ใช้ในการแสดงสี     ค. เมื่อทำการขยายภาพ จะทำให้ภาพสูญเสียความคมชัด     ง. ถูกทั้งข้อ ข และ ค

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก เฉลย 1. ข้อใดคือลักษณะภาพแบบ บิตแมป (Bitmap )     ก. เมื่อทำการขยาย ภาพยังคงคมชัดเสมอ     ข. ประกอบไปด้วยพิกเซลเรียงต่อเนื่องกัน ภายในแต่ละพิกเซลจะมี องค์ประกอบที่ใช้ในการแสดงสี     ค. เมื่อทำการขยายภาพ จะทำให้ภาพสูญเสียความคมชัด     ง. ถูกทั้งข้อ ข และ ค

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก คำถาม 2. ข้อใดคือข้อดีของภาพแบบ เวกเตอร์ (Vector)     ก.เมื่อทำการขยายภาพ จะทำให้ภาพสูญเสียความคมชัด     ข. เมื่อทำการขยาย ภาพยังคงคมชัดเสมอ     ค. เหมาะสำหรับนำไปใช้กับภาพ เหมือนจริง     ง. จะมีความเร็วในการแสดงผลสูง

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก เฉลย 2. ข้อใดคือข้อดีของภาพแบบ เวกเตอร์ (Vector)     ก.เมื่อทำการขยายภาพ จะทำให้ภาพสูญเสียความคมชัด     ข. เมื่อทำการขยาย ภาพยังคงคมชัดเสมอ     ค. เหมาะสำหรับนำไปใช้กับภาพ เหมือนจริง     ง. จะมีความเร็วในการแสดงผลสูง

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก คำถาม 3. สีในระบบ Additive จะประกอบไปด้วยสีใดบ้าง      ก. สีแดง ( Red) สีเขียว (Green) และ สีน้ำเงิน ( Blue)     ข. สีแดง ( Red) สีม่วงแดง ( Magenta) และ สีน้ำเงิน ( Blue)     ค. สีฟ้า ( Cyan) สีม่วงแดง ( Magenta) และสีเหลือง ( Yellow)     ง. สีแดง ( Red) สีเหลือง ( Yellow) และ สีน้ำเงิน ( Blue)

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก เฉลย 3. สีในระบบ Additive จะประกอบไปด้วยสีใดบ้าง      ก. สีแดง ( Red) สีเขียว (Green) และ สีน้ำเงิน ( Blue)     ข. สีแดง ( Red) สีม่วงแดง ( Magenta) และ สีน้ำเงิน ( Blue)     ค. สีฟ้า ( Cyan) สีม่วงแดง ( Magenta) และสีเหลือง ( Yellow)     ง. สีแดง ( Red) สีเหลือง ( Yellow) และ สีน้ำเงิน ( Blue)

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก คำถาม 4. ไฟล์สกุลใดเหมาะอย่างยิ่งในการนำไปใช้บน Internet     ก. Format ไฟล์สกุล TIFF     ข. Format ไฟล์สกุล GIF     ค. Format ไฟล์สกุล EPS     ง. Format ไฟล์สกุล BMP

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก เฉลย 4. ไฟล์สกุลใดเหมาะอย่างยิ่งในการนำไปใช้บน Internet     ก. Format ไฟล์สกุล TIFF     ข. Format ไฟล์สกุล GIF     ค. Format ไฟล์สกุล EPS     ง. Format ไฟล์สกุล BMP

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก คำถาม 5. ไฟล์สกุลใดเหมาะอย่างยิ่งในการนำไปใช้กับ สิ่งพิมพ์     ก. Format ไฟล์สกุล TIFF     ข. Format ไฟล์สกุล GIF     ค. Format ไฟล์สกุล PNG     ง. Format ไฟล์สกุล SWF

ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก เฉลย 5. ไฟล์สกุลใดเหมาะอย่างยิ่งในการนำไปใช้กับ สิ่งพิมพ์     ก. Format ไฟล์สกุล TIFF     ข. Format ไฟล์สกุล GIF     ค. Format ไฟล์สกุล PNG     ง. Format ไฟล์สกุล SWF

END